dc.contributor.advisor | Padet Tummaruk | en_US |
dc.contributor.advisor | Komkrich Teankum | en_US |
dc.contributor.author | Pachara Pearodwong | en_US |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Faculty of Veterinary Science | en_US |
dc.date.accessioned | 2015-06-24T06:39:09Z | |
dc.date.available | 2015-06-24T06:39:09Z | |
dc.date.issued | 2013 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43535 | |
dc.description | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2013 | en_US |
dc.description.abstract | The objectives of present study were 1) to determine the association between porcine circovirus type2 (PCV2) DNA detection in ovary and uterine tissues and reproductive performance, reason for culling, gross morphology, and PCV2 ELISA antibody titer and 2) to locate the PCV2 capsid protein in the ovary and uterus of gilts culled due to reproductive disturbance. In total, formalin-fixed paraffin-embedded ovaries (n=70), uteri (n=102), and serum samples (n=102) were included. Historical data (i.e., body weight, age at enter into the herd, age at culling, average daily gain (ADG)) and reproductive performances (i.e., age at first observed estrus, age at first mating, and non-productive days (NPD)) were collected. Reasons for culling (abortion, abonormal vaginal discharge, anestrus, repeat service, and non-reproductive reason), gross morphology of the ovary (normal, single or multiple cyst, miscellaneous) and the uterus (normal, endometritis, and miscellaneous) were classified. DNA were extracted by using a commercial extraction kit. The polymerase chain reaction was performed by using ORF1 of PCV2 specific primers. The PCV2 capsid protein localization was identified by using polyclonal anti-PCV2 primary-antibody. Serums were test for PCV2 antibody by using the commercial ELISA. It was found that PCV2 DNA were detected in 21/70 (30.0%) of the ovary and in 46/102 (45.1%) of the uterus. Reproductive performances of gilts that had PCV2 DNA in their reproductive organs and those without the PCV2 DNA were not significantly difference. The percentage of PCV2 detection in the uterus in gilts culled due to non-reproductive problem 4/20 (20.0%) was lower than that in gilts culled due to abortion 6/7 (85.0%), abnormal vaginal discharge 19/40 (47.5%), and anestrus 15/28 (53.5%) (p<0.05). The percentage of PCV2 DNA detection in either ovarian or uterine tissues were not related with gross morphologies of both organs. The average PCV2 antibody titer of the gilts were 1,271±867 (range 150 to >2,484). The percentage of PCV2 DNA detection in the gilts with a high antibody titer (23.0%) was lower than that in the gilts with low antibody titer (57.6%) and seronegative gilts (64.5%) (p<0.05). PCV2 capsid proteins were detected in uterine tissues by immunohistochemistry. The PCV2 were appeared both in the cytoplasm and the nucleus of the cells. In addition, the PCV2 antigens intranuclear staining were found in the endometrial cells, while intracytoplasmic and the intranuclear staining were found in the lymphocytes and macrophages. In conclusion, PCV2 was detected by 30.0% of the ovary and 45.1% of the uterus of gilts culled due to reproductive disturbances. The reasons for culling were associated with PCV2 DNA detection. No association between reproductive performance, and gross morphology and PCV2 DNA detection were observed. The PCV2 capsid protein were found in the endometrial cells, subepithelial lymphocytes and macrophages. The PCV2 DNA detection in the ovary of gilts with high positive PCV2 antibody titer were lower than the gilts with lower PCV2 antibody titer. | en_US |
dc.description.abstractalternative | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างการตรวจพบดีเอ็นเอของเชื้อเซอร์โคไวรัส ชนิดที่ 2 ในสุกร ในเนื้อเยื่อรังไข่และมดลูก กับสมรรถภาพทางการสืบพันธุ์ สาเหตุการคัดทิ้ง พยาธิสภาพ และระดับแอนติบอดีต่อเชื้อเซอร์โคไวรัส ชนิดที่ 2 ในสุกร และเพื่อหาการปรากฏของแคพซิดโปรตีนของเชื้อเซอร์โคไวรัส ชนิดที่ 2 ในสุกร ในเนื้อเยื่อรังไข่และมดลูกของสุกรสาวที่ถูกคัดทิ้งเนื่องจากปัญหาทางระบบสืบพันธุ์ โดยใช้ตัวอย่าง รังไข่ 70 ตัวอย่าง มดลูก 102 ตัวอย่าง ที่ถูกฝังในพาราฟินและซีรั่ม 102 ตัวอย่าง โดยเก็บข้อมูลประวัติของสุกรสาวซึ่งประกอบด้วย น้ำหนักตัว อายุที่เข้าทดแทน อายุที่ถูกคัดทิ้ง น้ำหนักที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยต่อวัน และข้อมูลสมรรถภาพทางการสืบพันธุ์ ซึ่งประกอบด้วย อายุที่เป็นสัดครั้งแรก อายุที่ได้รับการผสมพันธุ์ครั้งแรก และจำนวนวันสูญเสีย สาเหตุการคัดทิ้งสุกรสาวประกอบไปด้วยอาการ แท้ง หนองไหล ไม่เป็นสัด ผสมซ้ำ และปัญหาที่ไม่เกี่ยวกับระบบสืบพันธุ์ พยาธิสภาพของรังไข่ถูกแบ่งเป็นกลุ่มต่างๆดังนี้ ปกติ พบซิสต์ 1 ซิสต์ พบซิสต์ ≥2 ซิสต์ และอื่นๆ ส่วนพยาธิสภาพของมดลูกถูกแบ่งเป็นกลุ่มต่างๆดังนี้ ปกติ มดลูกอักเสบ และอื่นๆ ดีเอ็นเอถูกสกัดจากเนื้อเยื่อโดยใช้ชุดสกัดสำเร็จรูป ดีเอ็นเอของเชื้อเซอร์โคไวรัส ชนิดที่ 2 ในสุกรถูกตรวจโดยวิธีพีซีอาร์ซึ่งใช้ไพร์เมอร์ที่จำเพาะต่อ ORF1 ของของเชื้อเซอร์โคไวรัส ชนิดที่ 2 ในสุกร แคพซิดโปรตีนของเชื้อเซอร์โคไวรัส ชนิดที่ 2 ในสุกร ในเนื้อเยื่อนั้นจะถูกตรวจหาโดยใช้วิธีการอิมูโนฮิสโตเคมีซึ่งใช้แอนติบอดีทีจำเพาะต่อแคพซิดโปรตีนของเชื้อเซอร์โคไวรัส ชนิดที่ 2 ในสุกร ตัวอย่างซีรั่มจะถูกตรวจหาระดับแอนติบอดีต่อเชื้อเซอร์โคไวรัส ชนิดที่ 2 ในสุกรโดยใช้ชุดตรวจอิไลซ่าสำเร็จรูป ผลการศึกษาพบว่า ดีเอ็นเอของเชื้อเซอร์โคไวรัส ชนิดที่ 2 ในสุกร สามารถตรวจพบได้ใน 21/70 (30.0%) ของรังไข่ และ 46/102 (45.1%) ของมดลูก สมรรถภาพทางการสืบพันธุ์ของสุกรสาวที่ตรวจพบและไม่พบเอ็นเอของเชื้อเซอร์โคไวรัส ชนิดที่ 2 ในสุกรนั้นไม่แตกต่างกันทางสถิติ ร้อยละของการตรวจพบเอ็นเอของเชื้อเซอร์โคไวรัส ชนิดที่ 2 ในสุกร ในมดลูกของสุกรสาวที่ถูกคัดทิ้งจากปัญหาที่ไม่เกี่ยวกับระบบสืบพันธุ์ 4/20 (20.0%) มีค่าต่ำกว่าสุกรสาวที่ถูกคัดทิ้งจากอาการ แท้ง 6/7 (85.0%) หนองไหล 19/40 (47.5%) และไม่เป็นสัด 15/28 (53.5%) (p<0.05) ร้อยละของการตรวจพบดีเอ็นเอของเชื้อเซอร์โคไวรัส ชนิดที่ 2 ในสุกร ในรังไข่หรือมดลูกนั้นไม่สัมพันธ์กับพยาธิสภาพของทั้งรังไข่และมดลูก ระดับแอนติบอดีต่อเชื้อเซอร์โคไวรัส ชนิดที่ 2 ในสุกรเฉลี่ยในซีรั่มมีค่าเท่ากับ 1,271±867 มีค่าตั้งแต่ 150 ถึง >2,484 ร้อยละของการตรวจพบดีเอ็นเอของเชื้อเซอร์โคไวรัส ชนิดที่ 2 ในสุกรที่มีระดับแอนติบอดีต่อเชื้อเซอร์โคไวรัส ชนิดที่ 2 ในสุกรสูง (23.0%) มีค่าน้อยกว่าสุกรสาวที่มีแอนติบอดีต่อเชื้อเซอร์โคไวรัส ชนิดที่ 2 ในสุกรต่ำ (57.6%) และมีระดับแอนติบอดีต่อเชื้อเซอร์โคไวรัส ชนิดที่ 2 ในสุกรเป็นลบ (64.5%) (p<0.05) แคพซิดโปรตีนของเชื้อเซอร์โคไวรัส ชนิดที่ 2 ในสุกรถูกตรวจพบในเนื้อเยื่อมดลูกโดยวิธีการอิมมูโนฮิสโตเคมี โดยปรากฏอยู่ทั้งในไซโทพลาซึมและนิวเคลียสของเซลล์เยื่อบุมดลูก ลิมโฟไซต์และมาโครฟาจในชั้นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันใต้เยื่อบุมดลูก การศึกษานี้สรุปได้ว่าดีเอ็นเอของเชื้อเซอร์โคไวรัส ชนิดที่ 2 ในสุกร สามารถตรวจพบได้ใน 21/70 (30.0%) ของรังไข่ และ 46/102 (45.1%) ของมดลูกของสุกรสาวที่ถูกคัดทิ้งจากปัญหาทางระบบสืบพันธุ์ โดยสาเหตุการคัดทิ้งมีความสัมพันธ์กับการตรวจพบดีเอ็นเอของเชื้อเซอร์โคไวรัส ชนิดที่ 2 ในสุกร ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถภาพทางการสืบพันธุ์ พยาธิสภาพและการตรวจพบดีเอ็นเอของเชื้อเซอร์โคไวรัส ชนิดที่ 2 ในสุกร แคพซิดโปรตีนของเชื้อเซอร์โคไวรัส ชนิดที่ 2 ในสุกรถูกตรวจพบได้ในเซลล์เยื่อบุมดลูก ลิมโฟไซต์และมาโครฟาจในชั้นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันใต้เยื่อบุมดลูก สุกรสาวที่มีระดับแอนติบอดีต่อเชื้อเซอร์โคไวรัส ชนิดที่ 2 สูงนั้นมีการตรวจพบดีเอ็นเอของเชื้อเซอร์โคไวรัส ชนิดที่ 2 ในสุกรน้อยกว่าสุกรที่มีระดับแอนติบอดีต่ำกว่าและมีระดับแอนติบอดีเป็นลบ | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chulalongkorn University | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.999 | |
dc.rights | Chulalongkorn University | en_US |
dc.subject | Ovaries | |
dc.subject | Animals -- Diseases | |
dc.subject | Circoviruses | |
dc.subject | รังไข่ | |
dc.subject | โรคสัตว์ | |
dc.subject | เซอร์โคไวรัส | |
dc.title | DETECTION OF PORCINE CIRCOVIRUS TYPE 2 DNA IN OVARY AND UTERUS FROM GILTS CULLED DUE TO REPRODUCTIVE DISTURBANCE | en_US |
dc.title.alternative | การตรวจหาดีเอ็นเอของเชื้อเซอร์โคไวรัสชนิดที่ 2 ในรังไข่และมดลูกจากสุกรสาวที่ถูกคัดทิ้งเนื่องจากปัญหาทางระบบสืบพันธุ์ | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | Master of Science | en_US |
dc.degree.level | Master's Degree | en_US |
dc.degree.discipline | Theriogenology | en_US |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | en_US |
dc.email.advisor | padet.t@chula.ac.th | en_US |
dc.email.advisor | tkomkric@hotmail.com | |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2013.999 |