DSpace Repository

การตั้งสูตรตำรับครีมน้ำผึ้งสำหรับรักษาแผลติดเชื้อ Staphylococcus aureus

Show simple item record

dc.contributor.advisor วิภาพร พนาพิศาล
dc.contributor.advisor อารีรัตน์ ลออปักษา
dc.contributor.advisor อัญญพร ตันศิริคงคล
dc.contributor.author ฐิติรัตน์ ลิ่มดุลย์
dc.contributor.author ธนิต วิริยะธารากิจ
dc.contributor.author ธัชพงศ์ ธรรมบรรหาร
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์
dc.date.accessioned 2015-08-12T14:40:29Z
dc.date.available 2015-08-12T14:40:29Z
dc.date.issued 2555
dc.identifier.other Sepr 10/55 ค2.6
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44259
dc.description.abstract ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันได้มีการค้นพบว่า น้าผึ้งใช้รักษาแผลติดเชื้อที่ผิวหนังได้ ซึ่งเชื้อสาเหตุหลักมักจะเกิดจากเชื้อ Staphylococcus aureus (S. aureus) แต่การนาน้าผึ้งมาใช้โดยตรงก่อให้เกิดความไม่สะดวกแก่ผู้ใช้ได้ เนื่องจากน้าผึ้งมีลักษณะเหลวและไหลได้ ทั้งยังก่อให้ เกิดความเหนอะหนะบริเวณที่ทา ดังนั้นคณะผู้วิจัยจึงศึกษาหาชนิดและปริมาณของน้าผึ้งจากดอกไม้ต่างๆที่มีฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อ เพื่อตั้งเป็นสูตรตารับครีมซึ่งมีประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อ สะดวกต่อผู้ใช้ และให้ลักษณะสัมผัสที่ดีเมื่อทาบริเวณผิวหนัง ในการทดลองหาชนิดของน้าผึ้งที่เหมาะสมในการยับยั้งเชื้อโดยวิธี agar diffusion method พบว่าน้าผึ้งดอกลาไยและน้าผึ้งดอกงามีขนาดโซนใสแตกต่างจากน้ากลั่นและมากกว่าน้าผึ้งจากดอกไม้ชนิดอื่นๆอย่างมีนัยสาคัญ (p-value < 0.05) จากนั้นได้หาความเข้มข้นของน้าผึ้งที่ต่าที่สุดที่สามารถยับยั้งเชื้อ S. aureus ATCC 25923 ได้ (ค่า MIC) โดยวิธี broth dilution method พบว่าค่า MIC ของน้าผึ้งดอกลาไยเท่ากับ 0.2 กรัม/มิลลิลิตร และน้าผึ้งดอกงาเท่ากับ 0.15 กรัม/มิลลิลิตร จึงได้เลือกน้าผึ้งดอกงามาพัฒนาเป็นครีมรักษาแผลติดเชื้อบริเวณผิวหนังต่อไป การตั้งตารับยาพื้นครีมชนิดน้ามันในน้าที่เหมาะสมที่มีชนิดและปริมาณของสารก่ออิมัลชันต่างๆโดยวิธี beaker method พบว่าสูตรตารับที่ใช้ Span®80 และ Tween®80 ร้อยละ 4 และ GMS SE ร้อยละ 3, 4 และ 5 ของสูตรตารับเป็นสารก่ออิมัลชัน มีความคงตัวหลังผ่านสภาวะเร่งที่อุณหภูมิ 45 สลับกับ 4 องศาเซลเซียส จานวน 6 รอบ และเมื่อนาไปพัฒนาเป็นสูตรตารับครีมน้าผึ้งประกอบด้วยน้าผึ้งดอกงาความเข้มข้น 0.3 กรัม/มิลลิลิตร พบว่าสูตรตารับครีมน้าผึ้งที่ใช้ GMS SE มีความคงตัวหลังผ่านสภาวะเร่ง การนาครีมน้าผึ้งที่พัฒนาได้ไปทดสอบฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อ พบว่าครีมน้าผึ้งที่ใช้สารก่ออิมัลชันเป็น GMS SE ร้อยละ 3 ให้ขนาดโซนใสที่แตกต่างจากยาพื้นครีมอย่างมีนัยสาคัญ (p-value < 0.05) และมีค่าเฉลี่ยของขนาดโซนใสดีที่สุด น้าผึ้งดอกงามีประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อ S. aureus ATCC 25923 ได้ดีกว่าน้าผึ้งชนิดอื่นที่ทาการศึกษา และยาพื้นครีมที่ใช้ GMS SE ปริมาณร้อยละ 3 เป็นสารก่ออิมัลชันมีความคงตัวดีในสภาวะเร่ง สามารถบรรจุน้าผึ้งดอกงาที่ความเข้มข้น 0.3 กรัม/มิลลิลิตร และยังคงมีความคงตัวดี รวมทั้งมีฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อ S. aureus ATCC 25923 เมื่อเทียบกับยาพื้นครีม en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject Staphylococcus aureus infections en_US
dc.subject Wounds and injuries -- Infections -- Treatment en_US
dc.subject บาดแผลและบาดเจ็บ -- การติดเชื้อ -- การรักษา en_US
dc.title การตั้งสูตรตำรับครีมน้ำผึ้งสำหรับรักษาแผลติดเชื้อ Staphylococcus aureus en_US
dc.type Senior Project en_US
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล
dc.email.advisor Areerat.L@Chula.ac.th
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

  • Pharm - Senior projects [100]
    โครงการปริญญานิพนธ์ คณะเภสัชศาสตร์

Show simple item record