DSpace Repository

อิทธิพลของการใช้เฟซบุ๊กในความสัมพันธ์แบบคู่รักต่อการผูกมัดในความสัมพันธ์ และ ความหึงหวง : บทบาทส่งผ่านของความไว้วางใจคู่รัก

Show simple item record

dc.contributor.advisor คัคนางค์ มณีศรี en_US
dc.contributor.author ปาริฉัตร มาตรวิจิตร en_US
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา en_US
dc.date.accessioned 2015-08-21T09:30:28Z
dc.date.available 2015-08-21T09:30:28Z
dc.date.issued 2557 en_US
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44618
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของการใช้เฟซบุ๊กในความสัมพันธ์แบบคู่รักต่อการผูกมัดในความสัมพันธ์ และความหึงหวง โดยมีความไว้วางใจคู่รักเป็นตัวแปรส่งผ่าน กลุ่มตัวอย่างเป็นบุคคลทั่วไปอายุตั้งแต่ 18-35 ปี มีคู่รักเป็นเพศตรงข้าม ยังไม่ได้สมรส มีระยะเวลาในการคบหากันไม่ต่ำกว่า 3 เดือนเป็นผู้ใช้งานเฟซบุ๊ก และมีคนรักเป็นผู้ใช้งานเฟซบุ๊กเช่นกัน ตอบชุดแบบสอบถามที่มีการสอบถามข้อมูลส่วนตัว การใช้งานเฟซบุ๊ก แบบสอบถามการรับรู้การใช้เฟซบุ๊กในความสัมพันธ์แบบคู่รัก มาตรวัดความไว้วางใจคู่รัก การผูกมัดในความสัมพันธ์ และมาตรวัดความหึงหวงในบริบทเฟซบุ๊ก ผลการวิเคราะห์โมเดลสมการเชิงโครงสร้างพบว่า การใช้เฟซบุ๊กในความสัมพันธ์แบบคู่รักไม่มีอิทธิพลทางตรงต่อการผูกมัดในความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่พบอิทธิพลทางอ้อมผ่านความไว้วางใจคู่รักอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และการใช้เฟซบุ๊กในความสัมพันธ์แบบคู่รักมีอิทธิพลทางตรงต่อความหึงหวงในบริบทเฟซบุ๊กอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 อีกทั้งยังมีอิทธิพลทางอ้อม ผ่านความไว้วางใจคู่รักอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ด้วย en_US
dc.description.abstractalternative The purposes of this research are to examine the positive (commitment) and the negative (jealousy) consequences of the Facebook use for romantic relationship and test the mediating role of trust. One hundred and fifty-one Facebook users aged 18 to 35 years and were currently in romantic relationship with the opposite sex for at least 3 months completed a set of questionnaire that assessed Facebook usage, perceived partner&rsquo;s Facebook use for romantic relationship, partner trust, commitment, and Facebook jealousy. Structural Equation Models (SEM) reveals that perceived partner's Facebook use has no direct effect on commitment. However, the indirect effect of perceived partner's Facebook use is found on commitment as mediated by trust (p < .05). In addition, perceived partner's Facebook use has direct effect on Facebook jealousy (p < .01) and indirect effect as mediated by trust (p < .05). en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.764
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject เฟซบุ๊ก th
dc.subject คู่รัก th
dc.subject ความผูกพัน th
dc.subject ความไว้วางใจ th
dc.subject ความสัมพันธ์ระหว่างบุรุษและสตรี th
dc.subject จิตวิทยาสังคม th
dc.subject Facebook (Electronic resource) en_US
dc.subject Couples en_US
dc.subject Commitment (Psychology) en_US
dc.subject Trust en_US
dc.subject Man-woman relationships en_US
dc.subject Social psychology en_US
dc.title อิทธิพลของการใช้เฟซบุ๊กในความสัมพันธ์แบบคู่รักต่อการผูกมัดในความสัมพันธ์ และ ความหึงหวง : บทบาทส่งผ่านของความไว้วางใจคู่รัก th
dc.title.alternative EFFECT OF PARTNER'S FACEBOOK USAGE ON COMMITMENT AND JEALOUSY IN ROMANTIC RELATIONSHIP: THE MEDIATING ROLE OF TRUST en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline จิตวิทยา en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor kakanang.m@chula.ac.th en_US
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2014.764


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record