dc.contributor.advisor |
Surasak Taneepanichskul |
en_US |
dc.contributor.advisor |
Sathirakorn Pongpanich |
en_US |
dc.contributor.advisor |
Robert S. Chapman |
en_US |
dc.contributor.author |
Katekaew Seangpraw |
en_US |
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. College of Public Health Sciences |
en_US |
dc.date.accessioned |
2015-08-21T09:30:30Z |
|
dc.date.available |
2015-08-21T09:30:30Z |
|
dc.date.issued |
2014 |
en_US |
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44621 |
|
dc.description |
Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2014 |
en_US |
dc.description.abstract |
Soil-Transmitted Helminth (STH) infections are endemic in Nan province and efforts are underway to decrease the transmission. The study aim to assess the effectiveness of participatory learning school-based intervention toward knowledge, attitude, preventive behaviors and incidence of helminthes infections among primary school students. Total 132 students (67 in experimental and 65 in control group) from grades 4-6, primary school students at Bo Kluea district were selected from three ethnic minority groups in November 2013 - August 2014. Students were approached through a self-administered validated, pretested and poilted tools, additionally samples for stool examination were also collected after taking the ethical approval. Stool examinations were using Kato-Katz thick smear. The experimental group score significantly higher on all aspects of a test of STH- related knowledge, attitudes and prevention behaviors compared with comparison group (p = 0.001). In a generalized linear model at follow up the experimental group was o.46 time as likely to STH as infections than the comparison group. In conclusion, participatory learning school-based intervention increase student knowledge, attitude about STH and lead to changes in behavior and reduce incidence of infection within school. Therefore, this study should be benefit to other primary school. |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
พยาธิลำไส้ติดต่อผ่านดินในนักเรียนยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในจังหวัดน่าน ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของนักเรียน เป็นปัญหาที่ต้องมีการป้องกันและควบคุมโดยเฉพาะอย่างยิ่งในระดับประถมศึกษา การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการมีส่วนร่วมของโรงเรียนต่อการป้องกันการติดเชื้อหนอนพยาธิลำไส้ติดต่อผ่านดินของนักเรียนประถมศึกษาตอนปลาย จังหวัดน่าน ประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนประถมศึกษาตอนปลายชั้นปีที่ 4-6 จำนวน 132 คน เป็นกลุ่มทดลอง 67 คน กลุ่มเปรียบเทียบ 65 คน กิจกรรมการเรียนการสอนแบบมีส่วนร่วมโดยประยุกต์ใช้ทฤษฏีแรงจูงใจในการป้องกันโรค ร่วมกับแผนการเรียนรู้ประสบการณ์ชีวิต (EAP) และกระบวนการ PHAST step-by-step ให้กับนักเรียนกลุ่มทดลอง ระยะเวลาดำเนินการ 8 สัปดาห์ เก็บรวบรวมข้อมูลก่อน-หลังการทดลองและระยะติดตามผล 3 เดือน โดยใช้แบบสอบถามและตรวจอุจาระโดยวิธีคาโต-เคทติ๊กสเมียร์ วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปโดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบความแตกต่างใช้สถิติ Paired Sample t-test Independent t-test และ Repeated measure ANOVA กำหนดระดับนัยสำคัญที่ 0.05 ผลการวิจัยพบว่า ภายหลังกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อหนอนพยาธิลำไส้ติดต่อผ่านดินสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value <0.05) เมื่อเปรียบเทียบภายในกลุ่มทดลองพบว่า หลังการทดลองและระยะติดตามผล มีคะแนนเฉลี่ยความรู้ทัศนคติ และพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อหนอนพยาธิลำไส้ติดต่อผ่านดินสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value <0.05) ภายหลังการทดลองมีอัตราอุบัติการณ์การติดเชื้อหนอนพยาธิลำไส้ติดต่อผ่านดินลดลงน้อยกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ เสนอแนะผลการวิจัยพบว่า การจัดโปรแกรมการมีส่วนร่วมของโรงเรียนต่อการป้องกันการติดเชื้อหนอนพยาธิลำไส้ติดต่อผ่านดินสามารถช่วยเพิ่มความรู้ ทัศนคติให้แก่กลุ่มตัวอย่างได้และส่งผลให้กลุ่มตัวอย่างมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อหนอนหนอนพยาธิลำไส้ติดต่อผ่านดิน ซึ่งรูปแบบการศึกษานี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับนักเรียนประถมศึกษาในการป้องกันโรคหนอนพยาธิต่างๆ หรือโรคอื่นที่สามารถป้องกันได้ |
en_US |
dc.language.iso |
en |
en_US |
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.90 |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.subject |
Helminthiasis in children -- Prevention -- Thailand -- Nan |
|
dc.subject |
Health education -- Study and teaching (Elementary) |
|
dc.subject |
โรคเกิดจากหนอนพยาธิในเด็ก -- การป้องกัน -- ไทย -- น่าน |
|
dc.subject |
สุขศึกษา -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) |
|
dc.title |
EFFECTIVENESS OF PARTICIPATORY LEARNING SCHOOL-BASED INTERVENTION PREVENTION OF SOIL-TRANSMITTED HELMINTH (STH) INFECTIONS AMONG PRIMARY SCHOOL STUDENTS NAN PROVINCE THAILAND |
en_US |
dc.title.alternative |
ประสิทธิผลโปรแกรมการมีส่วนร่วมของโรงเรียนต่อการป้องกันการติดเชื้อหนอนพยาธิลำไส้ติดต่อผ่านดินของนักเรียนประถมศึกษาตอนปลาย จังหวัดน่าน ประเทศไทย |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
Doctor of Philosophy |
en_US |
dc.degree.level |
Doctoral Degree |
en_US |
dc.degree.discipline |
Public Health |
en_US |
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.email.advisor |
surasak.t@chula.ac.th |
en_US |
dc.email.advisor |
Sathirakorn.P@Chula.ac.th |
en_US |
dc.email.advisor |
robert.s@chula.ac.th |
en_US |
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2014.90 |
|