dc.contributor.advisor |
Niti Pawakapan |
en_US |
dc.contributor.author |
Zar Ni Maung |
en_US |
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Political Science |
en_US |
dc.date.accessioned |
2015-08-21T09:30:57Z |
|
dc.date.available |
2015-08-21T09:30:57Z |
|
dc.date.issued |
2014 |
en_US |
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44680 |
|
dc.description |
Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2014 |
en_US |
dc.description.abstract |
Bagan is an ancient city which is one of Myanmar’s most famous tourism sites. Most of the inhabitants of Bagan rely on tourism-related business and the town is famous for its specialty lacquerware souvenir products. Since 2011 after democratization, international tourist arrivals have increased and along with it, the demand for lacquerware. The purpose of this thesis is to illustrate how tourism development influences lacquerware production, trade and socio-economic conditions of lacquerware entrepreneurs and craftsmen in Bagan before and after 2011 as well as to establish the role of the Lacquerware Technology College in sustainability of the lacquerware industry in Bagan. This thesis puts forward the hypothesis that there are both positive and negative impacts on the local lacquerware industry by the tourism industry. This study uses qualitative methods namely key-informant interviews, focus group discussions and observational methods to collect evidence to answer the research questions. The site chosen to carry out research was Myin-Ka-Bar village, Bagan; the main production source of lacquerware in the area. Although lacquerware and its related businesses have substantially increased due to tourism there are some threats to the long-term sustainability of the industry due to the lack of interest by the younger generation of locals. This thesis concludes that without the tourism industry and its continued growth, the lacquerware industry itself would die a natural death. |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงให้เห็นว่าการพัฒนาการท่องเที่ยวมีอิทธิพลต่อการผลิตเครื่องเขิน การค้าและเงื่อนไขทางเศรษฐกิจ และสังคมของผู้ประกอบการเครื่องเขิน และช่างฝีมือในเมืองบะกันก่อนและหลังปี ค.ศ. 2011 นอกจากนี้ยังมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของการท่องเที่ยวในธุรกิจเครื่องเขินที่เกี่ยวข้อง และบทบาทของ วิทยาลัยเทคโนโลยีเครื่องเขิน เพื่อความยั่งยืนของอุตสาหกรรมเครื่องเขินในเมืองบะกัน เมืองบะกันหรือพุกามเป็นเมืองโบราณที่ตั้งอยู่ในเมืองอยู่ทางตอนเหนือของประเทศเมียนมาร์ เป็นเมืองหนึ่งที่มีชื่อเสียงมากที่สุดของการท่องเที่ยวในประเทศ รู้จักกันดีว่ามีโบราณสถานและเจดีย์เก่าแก่มากกว่า 2,000 แห่ง เมื่อย้อนไปในศตวรรษที่ 11 ผู้ที่อาศัยอยู่ในเมืองนี้ส่วนใหญ่พึ่งพาธุรกิจที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยว และเป็นเมืองที่รู้จักกันทั้งประเทศ และต่างประเทศที่ผลิตเครื่องเขินเป็นของที่ระลึก ในปี ค.ศ.2011 จำนวนนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงเป็นประชาธิปไตยในเมียนมาร์ ในบะกันเองก็เช่นกัน เป็นผลให้ความต้องการผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกที่ทำจากเครื่องเขินเพิ่มขึ้นด้วย ความเป็นไปได้ที่จะแนะนำว่าการค้าทั้งภูมิภาคของเครื่องเขินนั้นขึ้นอยู่กับจำนวนนักท่องเที่ยว ธุรกิจเครื่องเขินไม้ไผ่ เรซิ่นย้อมสีปรับตัวดีขึ้นหลังปี ค.ศ. 2011 ที่เป็นผลมาจากการพัฒนาการท่องเที่ยว แม้ว่าธุรกิจเครื่องเขินจะได้รับการพัฒนา และยังเป็นที่สนใจค่อนข้างต่ำของคนรุ่นใหม่ในท้องที่ที่มีความต้องการเข้าร่วมกับอุตสาหกรรมนี้ และดูเหมือนว่าจะถูกจัดการทำให้เป็นอุตสาหกรรมที่ยั่งยืนต่อไป ในขณะที่ความต้องการมีปริมาณที่สูงขึ้น ผู้ประกอบการเครื่องเขินขนาดเล็กไม่สามารถจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของพวกเขาต่อนักท่องเที่ยวโดยตรงได้ พวกเขาจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของเขากับร้านขายเครื่องเขินขนาดใหญ่ที่มีหน้าร้านติดถนนและสามารถเข้าถึงนักท่องเที่ยวได้โดยง่าย ร้านเครื่องเขินขนาดใหญ่ไม่เพียงแต่ผลิตของเองเท่านั้น แต่ยังซื้อของที่ระลึกเครื่องเขินที่ทำจากผู้ประกอบการขนาดเล็กจากหมู่บ้านผ่านพ่อค้าคนกลางเพราะผลิตภัณฑ์ของพวกเขาไม่เพียงพอไม่สามารถตอบสนองความต้องการที่มีอยู่สูงในฤดูท่องเที่ยวได้ แม้ว่าผู้ประกอบการขนาดใหญ่และผู้ประกอบการขนาดเล็กที่มีอยู่ในหมู่บ้านเดียวกัน และในบริเวณใกล้เคียงกัน ในขณะเดียวกันผู้ประกอบการขนาดเล็กต้องพึ่งพาอาศัยพ่อค้าคนกลางในการขายผลิตภัณฑ์ของพวกเขา ความต้องการของที่ระลึกเครื่องเขินมีปริมาณสูงขึ้นหลังปี ค.ศ. 2011 ส่งผลให้มีการจ้างงานช่างฝีมือในหมู่บ้านอย่างเต็มรูปแบบ ก่อนปี ค.ศ. 2011 อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวไม่ปลอดภัย ทำให้มีการจ้างงานน้อย และมีช่างฝีมือว่างงาน ดังนั้นพวกเขาต้องย้ายไปหางานที่อื่นทำ หรือหางานอย่างอื่นทำทดแทนในบะกัน แต่หลังจากจากปี ค.ศ. 2011 พวกเขาไม่จำเป็นหางานอื่นทำ เพราะว่าความต้องการของที่ระลึกเครื่องเขินมีปริมาณที่สูงขึ้น ได้สร้างโอกาสการทำงานมากขึ้น และมีข้อเสนอที่ดีให้กับช่างฝีมือเครื่องเขิน โรงเรียนการฝึกอบรมเครื่องเขิดน ได้รับการก่อตั้งขึ้นในบะกันตั้งแต่ครั้งอยู่ภายใต้การปกครองของอังกฤษ และถูกปรับให้เป็น วิทยาลัยเทคโนโลยีเครื่องเขิน และทำการฝึกอบรมอื่นๆ ไม่เพียงแต่ในบะกัน แต่ยังกระจายไปในชนบทของประเทศเมียนม่าร์ด้วย การศึกษาครั้งนี้ใช้การศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะจง การสนทนากลุ่ม และวิธีการสังเกต ในการเก็บข้อมูลรวบรวมหลักฐานในการตอบคำถามวิจัย วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ใช้วิธีการสมมุติฐานว่ามีผลกระทบทั้งทางบวกและทางลบต่ออุตสาหกรรมเครื่องเขินท้องถิ่นโดยอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว อย่างไรก็ตามงานวิจัยนี้ยังสรุปได้ว่า ถ้าไม่มีอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่องแล้ว อุตสาหกรรมเครื่องเขินก็จะหยุดลงตามธรรมชาติ คำสำคัญ: การพัฒนาการท่องเที่ยว, อุตสาหกรรมเครื่องเขิน, ช่างฝีมือและนักลุงทุนในธุรกิจเครือเขิน, หมู่บ้านเมียนกะบาร์, บะกัน, พุกาม |
en_US |
dc.language.iso |
en |
en_US |
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.115 |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.subject |
Lacquer and lacquering -- Burma -- Bagan |
|
dc.subject |
Tourism -- Burma -- Bagan |
|
dc.subject |
Handicraft industries -- Burma -- Bagan |
|
dc.subject |
Burma -- Bagan -- Myinkabar |
|
dc.subject |
เครื่องเขิน -- พม่า -- พุกาม |
|
dc.subject |
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว -- เมียนมา -- พุกาม |
|
dc.subject |
อุตสาหกรรมหัตถกรรม -- เมียนมา -- พุกาม |
|
dc.subject |
เมียนมา -- พุกาม -- เมียงกาบา |
|
dc.title |
TOURISM IN MYANMAR AND POTENTIAL SUSTAINABILITY OF LACQUERWARE INDUSTRY |
en_US |
dc.title.alternative |
การท่องเที่ยวในเมียนมาร์ และความเป็นไปได้ในการทำให้อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์เคลือบเงายั่งยืน |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
Master of Arts |
en_US |
dc.degree.level |
Master's Degree |
en_US |
dc.degree.discipline |
International Development Studies |
en_US |
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.email.advisor |
Niti.P@Chula.ac.th,niti257@yahoo.co.th |
en_US |
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2014.115 |
|