dc.contributor.advisor |
June Charoenseang |
en_US |
dc.contributor.author |
Yulia Tri Mardani |
en_US |
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Economics |
en_US |
dc.date.accessioned |
2015-08-21T09:31:02Z |
|
dc.date.available |
2015-08-21T09:31:02Z |
|
dc.date.issued |
2014 |
en_US |
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44696 |
|
dc.description |
Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2014 |
en_US |
dc.description.abstract |
This study was conducted to compare the impact of the Asian and Global crises on Indonesian export using augmented gravity model with New Trade Theory framework. Using quarterly data from 1993-2012, export is classified into three main sectors (agriculture, manufacture, mining-quarrying) and aggregate sector. Top 30 countries of Indonesian trading partner are chosen as sample, which represent 88 percent of total Indonesian export. Panel estimation method employs Fixed Effect Model AR (1) as the best method among OLS and REM. In addition, to enrich the analysis, this study also describes all the information about export situation during crisis through descriptive analysis. According to our descriptive analysis, the Asian crisis gives negative effects on export value in all sectors, based on export value growth calculation on the crisis period to the same period in the previous year. Primary sector is the most sensitive sector in term of export value. The panel gravity model composed by lagged Indonesian export, total GDP of Indonesia and trading partner, Relative Factor Endowment, Real Exchange Rate, distance, Regional Trade Agreement, language, and crisis dummy. The model has proved a strongly negative relation between the Asian crisis and export value on each sector except the aggregate sector. This result was supported by the descriptive analysis, where export is more sensitive during the Asian crisis. From the estimation results of each sector, mining sector is suffering from the worst effects of the Asian crisis. |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
การศึกษาครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลกระทบจากวิกฤตการณ์การเงินเอเชียในปี พ.ศ. 2540 และวิกฤตการณ์การเงินของโลกในปี พ.ศ. 2551 ที่มีต่อการส่งออกของประเทศอินโดนีเซียโดยใช้แบบจำลอง Augmented Gravity Model ภายใต้กรอบทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศใหม่ของครุกแมน ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ ข้อมูลการส่งออกของประเทศอินโดนีเซียรายไตรมาสตั้งแต่ปี พ.ศ.2536 ถึง พ.ศ. 2555 โดยแบ่งออกเป็นข้อมูลการส่งออกจากภาคอุตสาหกรรมหลัก ซึ่งได้แก่ ภาคเกษตรกรรม ภาคการผลิตและภาคอุตสาหกรรมเหมืองแร่ รวมไปถึงภาคอุตสาหกรรมรวม ประเทศคู่ค้าหลักของประเทศอินโดนีเซียจำนวน 30 ประเทศคือกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 88 ของการส่งออกทั้งหมดของประเทศอินโดนีเซีย จากผลการศึกษาโดยวิธีประมาณการข้อมูลช่วงยาวพบว่า แบบจำลองตัวแบบคงที่ ณ AR(1) คือวิธีประมาณการที่ดีที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับแบบจำลองกำลังสองน้อยที่สุดและแบบจำลองตัวแบบสุ่ม นอกจากนี้การศึกษาครั้งนี้ยังอธิบายสถานการณ์การส่งออกของประเทศอินโดนีเซียในช่วงวิกฤตการณ์การเงินทั้งสองโดยวิธีการวิเคราะห์เชิงพรรณนา และได้ข้อสรุปว่า วิกฤตการณ์การเงินเอเชียในปี พ.ศ. 2540 ส่งผลกระทบเชิงลบต่อมูลค่าการออกของทุกภาคอุตสาหกรรมของประเทศอินโดนีเซียจากการคำนวณอัตราการเติบโตของมูลค่าการส่งออกของประเทศอินโดนีเซียในช่วงเวลาเดียวกันในปีก่อนหน้าและปีที่เกิดวิกฤตการณ์การเงินเอเชียในปี พ.ศ. 2540 ตัวแปรอธิบายที่ใช้สำหรับประมาณการโดยแบบจำลอง Panel Gravity Model ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ การส่งออกของประเทศอินโดนีเซียในอดีต ผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศอินโดนีเซียและประเทศคู่ค้า ปัจจัยการผลิตเชิงเปรียบเทียบ อัตราแลกเปลี่ยนที่แท้จริง ระยะทาง ข้อตกลงทางการค้าส่วนภูมิภาค ภาษา และตัวแปรหุ่นสำหรับวิกฤตการณ์การเงินทั้งสองตามลำดับ ผลการศึกษาครั้งนี้พบความสัมพันธ์เชิงลบระหว่างวิกฤตการณ์การเงินเอเชียในปี พ.ศ. 2540 และมูลค่าการส่งออกของประเทศอินโดนีเซียในแต่ละภาคอุตสาหกรรม ซึ่งไม่ใช่ภาคอุตสาหกรรมรวม แต่อย่างไรก็ตามไม่พบความสัมพันธ์ดังกล่าวสำหรับวิกฤตการณ์การเงินโลกในปี พ.ศ.2551 ผลการศึกษาโดยวิธีประมาณการนี้มีความสอดคล้องกันกับผลการศึกษาโดยวิธีการวิเคราะห์เชิงพรรณนาข้างต้น กล่าวคือ การส่งออกของประเทศอินโดนีเซียมีความอ่อนไหวต่อผลกระทบจากวิกฤตการณ์การเงินเอเชียในปี พ.ศ.2540 มากกว่าวิกฤตการณ์การเงินโลกในปี พ.ศ.2551 นอกจากนี้การส่งออกจากภาคอุตสาหกรรมเหมืองแร่ของประเทศอินโดนีเซียได้รับผลกระทบเชิงลบมากที่สุดจากวิกฤตการณ์การเงินดังกล่าว คำสำคัญ – วิกฤตการณ์การเงินเอเชียในปี พ.ศ.2540, วิกฤตการณ์การเงินโลกในปี พ.ศ.2540, แบบจำลอง Gravity Model, การส่งออกของประเทศอินโดนีเซีย |
en_US |
dc.language.iso |
en |
en_US |
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.131 |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.subject |
Financial crises -- Asia |
|
dc.subject |
Indonesia -- International trade |
|
dc.subject |
วิกฤตการณ์การเงิน -- เอเชีย |
|
dc.subject |
อินโดนีเซีย -- การค้ากับต่างประเทศ |
|
dc.title |
Impact of Asian and Global Crises on Indonesian Exports |
en_US |
dc.title.alternative |
ผลกระทบของวิกฤตเศรษฐกิจอาเซียนและวิกฤตเศรษฐกิจโลกต่อภาคการส่งออกของอินโดนีเซีย |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
Master of Arts |
en_US |
dc.degree.level |
Master's Degree |
en_US |
dc.degree.discipline |
International Economics and Finance |
en_US |
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.email.advisor |
June.N@Chula.ac.th,June.N@chula.ac.th |
en_US |
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2014.131 |
|