DSpace Repository

The efficacy of (PDADMAC/PSS)9/PSS-co-MA coated polycaprolactone/Hydroxyapatite scaffold improve new bone formation : an invitro and in vivo study

Show simple item record

dc.contributor.advisor Prasit Pavasant
dc.contributor.advisor Piyawat Phankosol
dc.contributor.author Pornpen Jittivarangkool
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Dentistry
dc.date.accessioned 2015-09-01T06:57:34Z
dc.date.available 2015-09-01T06:57:34Z
dc.date.issued 2012
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44838
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2012 en_US
dc.description.abstract Grafting material is necessary for large defect reconstruction. Autograft is an ideal treatment for bone reconstruction, however some limitation still. Therefore, development in an alternative ‘scaffold’ to replace autograft comes to attention. Polycaprolactone/hydroxyapatite (PCL/HAp) scaffold which had been proved morphology and mechanical properties could support bone formation. This study developed the PCL/HAp scaffold by the concept of polyelectrolyte multilayer coating with Poly(4-styrenesulfonic acid-co-maleic acid) sodium salt (PSS-co-MA), Poly(diallyldimethyl-ammonium chloride) (PDADMAC) and Poly(sodium 4-styrene sulfonate) (PSS). This technique had been proved on planar material as glass and PCL membrane that had better wettability and could promoted osteoblast differentiation and also induce bone formation in murine calvarials defects at 6 weeks. This PEM coating (layer by layer) was combined onto the PCL/HAp scaffold surface and evaluated the ability of cell adhesion, proliferation, differentiation and mineralization of MC3T2-E1 cells. The results showed PSS-co-MA coating scaffold surface expressed increasingly MTT and calcium deposition. For in vivo new bone formation, PSS-co-MA coating PCL/HAp scaffold was implanted into circular defect of rat femur bone. Histological analysis of bone formation increased from 1 weeks and completed in 6 weeks. From in vivo and in vitro testing indicated that the (PDADMAC/PSS)9/PSS-co-MA coated scaffold could be the material of choice for bone tissue engineering. en_US
dc.description.abstractalternative การปลูกถ่ายอวัยวะเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับการฟื้นฟูบูรณะข้อบกพร่องที่มีขนาดใหญ่ การปลูกถ่ายโดยการใช้กระดูกของผู้ป่วยเองนับเป็นรักษาที่เหมาะสมในทางอุดมคติที่สุด แต่วิธีนี้ยังคงมีข้อจำกัดอยู่บางส่วน ดังนั้นคณะผู้วิจัยจึงมีความพยายามที่จะพัฒนาวัสดุโครงร่างพอลิคาโปรแลคโตน/ไฮดรอกซีแอปาไทต์ให้เป็นทางเลือกในการนำไปใช้ทดแทนการปลูกถ่ายกระดูกจากตัวผู้ป่วยเอง โครงร่างพอลิคาโปรแลคโตน/ไฮดรอกซีแอปาไทต์นี้ได้รับการศึกษาซึ่งได้พิสูจน์แล้วว่ามีลักษณะและคุณสมบัติเชิงกลซึ่งสามารถสนับสนุนการสร้างกระดูกได้ ทางคณะผู้วิจัยจึงใช้หลักการของการเคลือบฟิล์มบางทีละชั้นด้วยโพลิไดเอลิวไดเมททิวแอมโมเนียมคลอไรด์ (พีดีเอดีเอ็มเอซี) โพลิโซเดียม-4-สไตรีนซัลโฟเนต (พีเอสเอส) และโพลิ-4-สไตรีนซัลโฟนิกแอซิดโคมาลเลอิคโซเดียวมซอลล์(พีเอสเอสโคเอ็มเอ) บนผิวของโครงร่างโพลิเมอร์ เทคนิคการเคลือบผิวทีละชั้นนี้ได้รับการพิสูจน์โดยการเคลือบบนพื้นผิวแก้วและผิวเรียบของพีซีแอลโพลิเมอร์แล้วว่า มีคุณสมบัติความชอบน้ำและส่งเสริมการแปรสภาพของเซลล์สร้างกระดูก อีกทั้งยังสามารถเหนี่ยวนำให้เกิดการสร้างกระดูกในความวิการของกระดูกกะโหลกศีรษะหนูทดลองใน 6 สัปดาห์ ทางคณะผู้วิจัยได้ทำการศึกษาโดยนำคุณสมบัติการเคลือบผิวทีละขั้นด้วยพอลิอิเล็กโทรไลต์นี้ เคลือบไปบนผิวของโครงร่างพอลิคาโปรแลคโตน/ไฮดรอกซีแอปาไทต์นี้ และศึกษาความสามารถในการยึดเกาะของเซลล์ การเพิ่มจำนวนของเซลล์ การแปรสภาพของเซลล์สร้างกระดูกของหนู (เอ็มซีสามทีสาม-อีหนึ่ง) จากผลการศึกษาพบว่าการเคลือบพีเอสเอสโคเอ็มเอ สามารถเพิ่มค่าเอ็มทีที และการตกตะกอนของแคลเซียมได้ และจากการศึกษาการสร้างกระดูกในสัตว์ทดลองโดยฝังโครงร่างพอลคาโปรแลคโตน/ไฮดรอกซีแอปาไทต์ที่เคลือบด้วยพีเอสเอสโคเอ็มเอในกระดูกขาของสัตว์ทดลอง พบว่ามีผลทางจุลกายวิภาคศาสตร์เนื้อเยื่อของการสร้างกระดูกที่มากขึ้น จากการศึกษาทั้งทางห้องปฏิบัติการและในสัตว์ทดลอง การเคลือบผิวของโครงร่างพอลิคาโปรแลคโตน/ไฮดรอกซีแอปาไทต์ด้วยพอลิอิเล็กโทรไลต์ พีเอสเอสโคเอ็มเอ สามารถเป็นหนึ่งในทางเลือกของวัสดุที่จะนำไปใช้ในงานวิศวกรรมเนื้อเยื่อกระดูกได้ en_US
dc.language.iso en en_US
dc.publisher Chulalongkorn University en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.675
dc.rights Chulalongkorn University en_US
dc.subject Transplantation of organs, tissues, etc. en_US
dc.subject Polycaprolactone en_US
dc.subject Hydroxyapatite en_US
dc.subject Biocompatible Materials en_US
dc.subject Polyesters en_US
dc.subject Tissue Engineering en_US
dc.subject Tissue Scaffolds en_US
dc.subject Bone and Bones en_US
dc.subject พอลิคาโปรแลคโตน en_US
dc.subject ไฮดรอกซีอะพาไทต์ en_US
dc.subject การปลูกถ่ายอวัยวะ เนื้อเยื่อ ฯลฯ en_US
dc.title The efficacy of (PDADMAC/PSS)9/PSS-co-MA coated polycaprolactone/Hydroxyapatite scaffold improve new bone formation : an invitro and in vivo study en_US
dc.title.alternative ประสิทธิภาพของโครงร่างพอลิคาโปรแลคโตน/ไฮดรอกซีแอปาไทต์เคลือบด้วยพอลิไดเอลิวไดเมททิวแอมโมเนียมคลอไรด์/พอลิโซเดียมสไตรีนซัลโฟเนต/พอลิสไตรีนซัลโฟนิกแอซิดโคมาลลิอิกแอซิด : การศึกษาในห้องปฏิบัติการและในสัตว์ทดลอง en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name Master of Science en_US
dc.degree.level Master's Degree en_US
dc.degree.discipline Prosthodontics en_US
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en_US
dc.email.advisor Prasit.Pav@Chula.ac.th
dc.email.advisor Piyawat.P@chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2012.675


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record