DSpace Repository

การตอบสนองต่อรังสีเอกซ์ของฉากเรืองรังสี PI-200

Show simple item record

dc.contributor.advisor นเรศร์ จันทน์ขาว
dc.contributor.advisor อรรถพร ภัทรสุมันต์
dc.contributor.author วราภรณ์ จันทร์เทศ
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2015-09-02T03:06:10Z
dc.date.available 2015-09-02T03:06:10Z
dc.date.issued 2555
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44868
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 en_US
dc.description.abstract งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาทดลองเกี่ยวกับการตอบสนองต่อรังสีเอกซ์ของฉากเรืองรังสีแกดโดลิเนียมออกซีซัลไฟด์ Kyokko PI-200 สำหรับใช้เป็นฉากเพิ่มความดำของฟิล์มถ่ายภาพด้วยรังสีเอกซ์ที่ใช้ในงานอุตสาหกรรม ได้ทดลองถ่ายภาพด้วยรังสีเอกซ์โดยใช้ฟิล์มรังสีเอกซ์ประกบกับฉากเรืองรังสี PI-200 ที่ค่าศักดาไฟฟ้าสูงตั้งแต่ 80 ถึง 250 กิโลโวลต์ และเอกซ์โพเชอร์ 3 มิลลิแอมแปร์-นาที เปรียบเทียบกับเมื่อประกบกับฉากตะกั่ว และฉากแกดโดลิเนียมออกซีซัลไฟด์ DRZ-Std ผลการวิจัยพบว่าความดำของฟิล์มมีค่าเพิ่มมากขึ้นเมื่อพลังงานของรังสีเอกซ์สูงขึ้น ซึ่งตรงกันข้ามกับฟิล์มที่ไม่มีฉากประกบที่ความดำของฟิล์มกลับลดลงเมื่อพลังงานของรังสีเอกซ์สูงขึ้น และยังพบว่าที่ค่าศักดาไฟฟ้า 250 กิโลโวลต์ ความดำของฟิล์มเมื่อใช้ฉากเรืองรังสี PI-200, DRZ-Std และฉากตะกั่ว มีค่าสูงกว่าฟิล์มที่ไม่มีฉากเพิ่มความดำของภาพประมาณ 12, 11 และ 4 เท่า ตามลำดับ จึงสามารถสรุปได้ว่าฉากเรืองรังสี PI-200 สามารถช่วยเพิ่มความเร็วของฟิล์มได้อย่างมีนัยสำคัญสำหรับการถ่ายภาพด้วยรังสีเอกซ์พลังงานสูง แต่คุณภาพของภาพลดลงเล็กน้อย ดังนั้นจึงบ่งบอกว่าฉากเรืองรังสีชนิด PI-200 เหมาะสำหรับการถ่ายภาพด้วยรังสีเอกซ์พลังงานสูง เมื่อความละเอียดของภาพไม่ได้เป็นปัจจัยสำคัญนัก เช่น ในการตรวจวัดบริเวณที่เกิดการกัดกร่อน การสะสมของวัสดุ และการอยู่ผิดตำแหน่ง เป็นต้น en_US
dc.description.abstractalternative In this research, response of Kyokko PI-200 gadolinium oxysulfide (GOS) fluorescent screen to x-rays was experimentally investigated to be used as the intensifying screen for Kodak industrial x-ray film. The fluorescent sreen coupled with x-ray film was exposured to x-rays from an x-ray tube at the tube kilovoltage from ranging from 80 to 250 kV and the GOS fluorescent of 3 milliampare-minutes in comparison to lead foil screen and Kyokko DRZ-Std GOS fluorescent screen. The results showed that the film density increased with increasing of the tube kVp. In contrast, the film density of bare film, without a screen, decreased as the tube kVp increased. It was also observed that response of the x-ray film coupled with the PI-200 fluorescent screen, the DRZ-Std fluorescent screen and the lead foil screen to x-rays at 250 kVp was approximately 12, 11 and 4 times higher than that of the bare film respectively. It could be concluded that the PI-200 fluorescent screen could significantly increase film speed particularly for high energy x-ray radiography but the image quality was slightly decreased. It was, therefore, indicated that the PI-200 fluorescent screen was suitable for high energy x-ray radiography when image resolution was not an important factor such as in detection of area corrosion, material deposition and misalignment. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1661
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject รังสีเอกซ์ en_US
dc.subject การบันทึกภาพด้วยรังสี en_US
dc.subject X-rays en_US
dc.subject Radiography en_US
dc.title การตอบสนองต่อรังสีเอกซ์ของฉากเรืองรังสี PI-200 en_US
dc.title.alternative Response of PI-200 fluorescent screen to x-rays en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline นิวเคลียร์เทคโนโลยี en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor fnenck@eng.chula.ac.th
dc.email.advisor Attaporn.P@chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2012.1661


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record