DSpace Repository

การศึกษาเปรียบเทียบการประมาณพารามิเตอร์โดยตัวประมาณแบบกราฟที่มีการถ่วงน้ำหนักจากข้อมูลที่ถูกตัดปลายทางขวา

Show simple item record

dc.contributor.advisor อนุภาพ สมบูรณ์สวัสดี
dc.contributor.author อชิรญา สดรัมย์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี
dc.date.accessioned 2015-09-07T07:09:23Z
dc.date.available 2015-09-07T07:09:23Z
dc.date.issued 2555
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45032
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.) --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 en_US
dc.description.abstract งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการประมาณค่าพารามิเตอร์ของข้อมูลที่ถูกตัดปลายทางขวาประเภทที่ 2 ด้วยวิธีภาวะน่าจะเป็นสูงสุด (Maximum Likelihood Estimation Method; MLE Method) วิธีการประมาณแบบกราฟ (Graphical Estimation Method; GE Method) และวิธีการประมาณแบบกราฟที่มีการถ่วงน้ำหนัก (Weighted Graphical Estimation Method; WGE Method) โดยการแจกแจงที่สนใจศึกษาคือ การแจกแจงปกติ (Normal Distribution) การแจกแจงโลจิสติค (Logistic Distribution) การแจกแจงค่าต่ำสุดขีด (Smallest Extreme Value Distribution) และการแจกแจงค่าสูงสุดขีด (Largest Extreme Value Distribution) ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาได้จากการจำลองข้อมูลโดยมีขนาดตัวอย่าง (Sample Size; n) เท่ากับ 20, 40, 80 และ 120 ด้วยสัดส่วนของข้อมูลตัดปลายทางขวา (Censoring Proportion; p) เป็น 10%, 20% และ 30% จากผลการศึกษาแบบจำลองโดยเปรียบเทียบค่าประสิทธิภาพสัมพัทธ์ (Relative Efficiency; RE) พบว่า ในกรณีส่วนใหญ่การประมาณค่าพารามิเตอร์ด้วยวิธี WGE จะมีประสิทธิภาพมากกว่าการประมาณค่าพารามิเตอร์ด้วยวิธี GE โดยในกรณีที่ WGE แบบ Increasing Weighting เมื่อใช้ประมาณค่าพารามิเตอร์ (Location parameter) และ (Scale parameter) มีประสิทธิภาพสูงสุดภายใต้การแจกแจง SEV, LOGIS, และ NOR ในขณะที่ WGE แบบ Decreasing Weighting เมื่อใช้ประมาณ ค่าพารามิเตอร์ (Location parameter) และ (Scale parameter) มีประสิทธิภาพสูงสุดภายใต้การแจกแจง LEV en_US
dc.description.abstractalternative The objective of this study is to compare parameter estimations of type-II right censored data by Maximum Likelihood Estimation (MLE), Graphical Estimation (GE) and Weighted Graphical Estimation Method (WGE). The distributions of data under considerations in this study are Normal (NOR), Logistic (LOGIS), Smallest Extreme Value (SEV) and Largest Extreme Value (LEV) distributions. The comparisons are done under conditions of sample sizes n = 20, 40, 80 and 120 with the censoring proportion p = 10%, 20% and 30%. Based on the simulation results by comparing value of relative efficiencies (REs), overall, WGE is more efficient than GE. With , WGE- type Increasing Weighting for both location and scale parameters estimation performs best under SEV, LOGIS, and NOR distribution. While, WGE- type Decreasing Weighting for both location and scale parameters performs best under LEV distribution. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1755
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject การประมาณค่าพารามิเตอร์ en_US
dc.subject การแจกแจงปกติ en_US
dc.subject การแจกแจงโลจิสติก en_US
dc.subject Parameter estimation en_US
dc.subject Gaussian distribution en_US
dc.subject Logistic distribution en_US
dc.title การศึกษาเปรียบเทียบการประมาณพารามิเตอร์โดยตัวประมาณแบบกราฟที่มีการถ่วงน้ำหนักจากข้อมูลที่ถูกตัดปลายทางขวา en_US
dc.title.alternative A comparative study on parameter estimation by weighted graphical estimator from right–censored data en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline สถิติ
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Anupap.S@Chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2012.1755


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record