DSpace Repository

ชนชั้นกลางและประชาธิปไตย : มุมมองเชิงเปรียบเทียบประเทศไทยและฟิลิปปินส์

Show simple item record

dc.contributor.advisor สิริพรรณ นกสวน สวัสดี
dc.contributor.author มูนีเราะฮ์ ยีดำ
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์
dc.date.accessioned 2015-09-12T07:04:42Z
dc.date.available 2015-09-12T07:04:42Z
dc.date.issued 2555
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45250
dc.description วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 en_US
dc.description.abstract วิทยานิพนธ์เรื่อง “ชนชั้นกลางและประชาธิปไตย: มุมมองเชิงเปรียบเทียบประเทศไทยและ ฟิลิปปินส์” มีวัตถุประสงค์เพื่อทำการพิสูจน์แนวคิดเรื่อง การขยายตัวของชนชั้นกลางกับบทบาทในการช่วยผลักดันกระบวนการประชาธิปไตย โดยมีคำถามในการศึกษาคือ ชนชั้นกลางของไทยและฟิลิปปินส์แสดงบทบาทในการผลักดันให้เกิดพัฒนาการในกระบวนการประชาธิปไตยหรือไม่ โดยใช้วิธีการศึกษาเปรียบเทียบระหว่างประเทศไทยและฟิลิปปินส์ ในช่วงเวลาภายหลังจากเข้าสู่ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยในปี พ.ศ. 2475 ของไทยและ ปี ค.ศ. 1946 ของฟิลิปปินส์ จากการวิเคราะห์บทบาทการมีส่วนร่วมของชนชั้นกลางตั้งแต่เปลี่ยนแปลงระบอบปกครองมาสู่ระบอบประชาธิปไตยของทั้งไทยและฟิลิปปินส์ ผลการศึกษาพบว่า ชนชั้นกลางในประเทศไทยและฟิลิปปินส์มีการแสดงบทบาทที่หลากหลายทั้งสนับสนุนผลักดันการพัฒนากระบวนการประชาธิปไตยของประเทศในแง่ของการต่อต้านระบอบเผด็จการ แต่ในบางเหตุการณ์มีการ “ถูกมองว่า” ทวนกระแสประชาธิปไตย โดยการหันไปสนับสนุนการใช้การแทรกแซงทางการเมืองจากองค์กรอื่น เช่น เหตุการณ์ช่วงก่อนรัฐประหาร พ.ศ. 2549 ของไทย และเหตุการณ์ช่วงการต่อต้านประธานาธิบดีโจเซฟ เอสตราด้า (Joseph Estrada) ในช่วงปี ค.ศ. 2001 ของฟิลิปปินส์เป็นต้นมา en_US
dc.description.abstractalternative The purpose of this study is to verify the concept that democracy is enhanced by the expansion of middle classes in Thailand and the Philippines. This is done by comparing class roles after the democratic transition in1932 for Thailand and in1946 for the Philippines. The study indicates that Thai and Filipino middle class performs various roles either in support of or against democratic development. The middle class pushes for democratic process by opposing dictatorship. On the other hand, the middle class is considered anti-democracy when it turns to support political intervention as in case of the pre-coup d’état in Thailand and the anti-Estrada event in case of the Philippines. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1304
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject ชนชั้นกลาง -- กิจกรรมทางการเมือง en_US
dc.subject ประชาธิปไตย -- ฟิลิปปินส์ en_US
dc.subject ประชาธิปไตย -- ไทย en_US
dc.subject การเมืองเปรียบเทียบ en_US
dc.subject ไทย -- ประวัติศาสตร์ -- กรุงรัตนโกสินทร์ -- รัชกาลที่ 7, 2468-2477 en_US
dc.subject Middle class -- Political activity en_US
dc.subject Democracy -- Thailand en_US
dc.subject Democracy -- Philippines en_US
dc.title ชนชั้นกลางและประชาธิปไตย : มุมมองเชิงเปรียบเทียบประเทศไทยและฟิลิปปินส์ en_US
dc.title.alternative The middle classes and democracy : a comparative perspective between Thailand and the Philippines en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name รัฐศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline การปกครอง en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Siripan.N@chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2012.1304


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record