DSpace Repository

การบังคับใช้มาตรการแฝงตัวตามกฎหมายว่าด้วยการสอบสวนคดีพิเศษ: ศึกษากรณีการจัดทำเอกสารหลักฐานที่ใช้ในการแฝงตัว

Show simple item record

dc.contributor.advisor วีระพงษ์ บุญโญภาส en_US
dc.contributor.author ศิวดล ธีรเจริญทรัพย์ en_US
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์ en_US
dc.date.accessioned 2015-09-17T04:05:31Z
dc.date.available 2015-09-17T04:05:31Z
dc.date.issued 2557 en_US
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45832
dc.description วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557 en_US
dc.description.abstract วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษาถึงการจัดทำเอกสารหลักฐานที่ใช้ในการแฝงตัวตามกฎหมายของประเทศสหรัฐอเมริกา กฎหมายของมลรัฐเซาท์ออสเตรเลีย ประเทศออสเตรเลีย กฎหมายของประเทศนิวซีแลนด์ และบทบัญญัติของกฎหมายไทยที่เกี่ยวข้อง จากการศึกษาพบว่า บทบัญญัติในมาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ. 2547 และข้อบังคับกรมสอบสวนคดีพิเศษว่าด้วยการจัดทำเอกสาร หลักฐาน และการแฝงตัว พ.ศ. 2555 อันเป็นกฎหมายที่นำมาใช้บังคับกับการจัดทำเอกสารหลักฐานที่ใช้ในการแฝงตัวนั้น ยังมิได้กำหนดถึงหลักเกณฑ์ ขั้นตอน เงื่อนไข และรายละเอียดของการดำเนินการดังกล่าวเอาไว้อย่างครอบคลุมและเพียงพอ ส่งผลให้การบังคับใช้มาตรการแฝงตัวและการจัดทำเอกสารหลักฐานที่ใช้ในการแฝงตัวไม่อาจดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยเหตุดังกล่าว จึงเห็นควรให้พัฒนาหรือแก้ไขปรับปรุงบทบัญญัติของกฎหมายในเรื่องการจัดทำเอกสารหลักฐานที่ใช้ในการแฝงตัว ทั้งนี้ เพื่อให้การบังคับใช้มาตรการแฝงตัวและการจัดทำเอกสารหลักฐานที่ใช้ในการแฝงตัวสามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้การป้องกันและปราบปรามการกระทำความผิดอาญาที่มีลักษณะเป็นคดีพิเศษทำได้ดีขึ้นกว่าเดิม en_US
dc.description.abstractalternative This thesis concentrates on the study of preparing documentary evidence applied in undercover operations under the law of United States, the law of South Australia State of Australia, the law of New Zealand and the related provisions of Thai law. This study found that Thai law and regulations related to the preparation of documentary evidence applied in undercover operations which are Section 27 of the Special Case Investigation Act B.E. 2547 (2004) and the Regulations of the Department of Special Investigation on the preparation of documentary evidence and undercover operations B.E. 2555 (2012) did not define the principles and procedures of the preparation of documentary evidence explicitly. This has led to inefficient enforcement of undercover operations and preparation of documentary evidence applied in undercover operations. Consequently, it is obvious that the development or amendment of Thai law related to the preparation of documentary evidence applied in undercover operations is necessary for efficient enforcement of undercover operations and preparation of documentary evidence applied in undercover operations which results in the more effective crime prevention in the special cases. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.title การบังคับใช้มาตรการแฝงตัวตามกฎหมายว่าด้วยการสอบสวนคดีพิเศษ: ศึกษากรณีการจัดทำเอกสารหลักฐานที่ใช้ในการแฝงตัว en_US
dc.title.alternative ENFORCEMENT OF UNDERCOVER OPERATIONS UNDER THE SPECIAL CASE INVESTIGATION LAW: STUDY ON PREPARING DOCUMENTARY EVIDENCE APPLIED IN UNDERCOVER OPERATIONS en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name นิติศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline นิติศาสตร์ en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Viraphong.B@Chula.ac.th,viraphong.b@chula.ac.th en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record