DSpace Repository

ประสิทธิภาพด้านต้นทุนและกำไรของธนาคารพาณิชย์ในอาเซียน

Show simple item record

dc.contributor.advisor โสตถิธร มัลลิกะมาส en_US
dc.contributor.author จักรพันธ์ รัตนกูล en_US
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์ en_US
dc.date.accessioned 2015-09-18T04:23:58Z
dc.date.available 2015-09-18T04:23:58Z
dc.date.issued 2557 en_US
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46311
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557 en_US
dc.description.abstract งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพด้านต้นทุนและกำไรของธนาคารพาณิชย์ในอาเซียนเพื่อทราบถึงตำแหน่งและขีดความสามารถในการแข่งขันของธนาคารพาณิชย์ในอาเซียนก่อนการรวมกลุ่มของภาคการธนาคารอาเซียน (ASEAN Banking Integration) นอกจากนี้ยังศึกษาปัจจัยที่มีส่วนกำหนดประสิทธิภาพด้านต้นทุนและกำไรของธนาคารพาณิชย์ในอาเซียน โดยการศึกษาใช้กลุ่มตัวอย่างธนาคารพาณิชย์จำนวน 69 ธนาคารจาก 6 ประเทศสมาชิกอาเซียนได้แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย และเวียดนามตั้งแต่ปี 2000-2014 ผลการศึกษาพบว่าธนาคารพาณิชย์ของทั้ง 6 ประเทศสมาชิกอาเซียนมีประสิทธิภาพด้านต้นทุนและกำไรโดยดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2014 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 90.33 และ 82.81 ตามลำดับ และธนาคารที่มีประสิทธิภาพด้านต้นทุนและกำไรมากที่สุดคือธนาคารของประเทศสิงคโปร์ มาเลเซีย และไทยตามลำดับ ในทางกลับกันพบว่าธนาคารของประเทศฟิลิปปินส์และอินโดนีเซียเป็นธนาคารที่มีประสิทธิภาพด้านต้นทุนและกำไรต่ำที่สุดตามลำดับ นอกจากนี้ยังพบว่ารายได้ที่มิใช่อัตราดอกเบี้ย ขนาดของธนาคาร การบริหารจัดการลูกหนี้ที่ดี และธนาคารที่มีการดำเนินงานในภูมิภาคอาเซียนส่งผลดีต่อประสิทธิภาพด้านต้นทุนและกำไรของธนาคารพาณิชย์ในอาเซียน en_US
dc.description.abstractalternative This research set out to measure the cost and profit efficiency of the ASEAN commercial banks in order to assess their position and competitiveness before banking integration, and also examine their determinants. The study extracted data from 69 commercial banks located across six member countries, namely Indonesia, Malaysia, The Philippines, Singapore, Thailand and Vietnam. Moreover, the data set contained information accumulated in years 2000-2014 and the research employed Stochastic Frontier Approach to estimate efficiency. The results revealed that ASEAN bank cost and profit efficiency have been increasing continuously since 2000. In 2014, ASEAN bank cost and profit efficiency scored 90.33 and 82.81, respectively, while the best bank efficiency in ASEAN was present in Singaporean, Malaysian and Thai banks, in this order. On the other hand, Filipino banks achieved the lowest cost efficiency score and Indonesian banks had the lowest profit efficiency score among banks from the six ASEAN member countries. Additionally, this study also found that non-interest income, size, good risk credit management and bank with network in ASEAN region were positively correlated with bank cost and profit efficiency. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1170
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject ธนาคารและการธนาคาร -- กลุ่มประเทศอาเซียน
dc.subject การจัดการกำไร
dc.subject ต้นทุนและประสิทธิผล
dc.subject Banks and banking -- ASEAN countries
dc.subject Earning management
dc.subject Cost effectiveness
dc.title ประสิทธิภาพด้านต้นทุนและกำไรของธนาคารพาณิชย์ในอาเซียน en_US
dc.title.alternative COST AND PROFIT EFFICIENCY IN ASEAN BANKING en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline เศรษฐศาสตร์ en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Sothitorn.M@Chula.ac.th en_US
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2014.1170


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record