dc.contributor.advisor | Pongsa Pornchaiwiseskul | en_US |
dc.contributor.author | Nath Bunditwattanawong | en_US |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Faculty of Economics | en_US |
dc.date.accessioned | 2015-09-19T03:38:37Z | |
dc.date.available | 2015-09-19T03:38:37Z | |
dc.date.issued | 2014 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46399 | |
dc.description | Thesis (Ph.D. (Economics))--Chulalongkorn University, 2014 | en_US |
dc.description.abstract | Monetary policy in nowadays is focused on the role of economic agents’ anticipations on macroeconomic and it seems to be broad agreement that effect of monetary policy depends on the change in expected path of real interest rates significantly. Thus, many central banks increase their communication in the way that can anchor public’s expectation to improving the effectiveness of monetary policy. In practical, inflation-targeting central banks already issue “target criterion”, i.e., the first-order condition from optimal monetary policy. However, they may implement biased policy due to systematic biased problem which their output gap target does not consist to the desirable output gap. As a result, central banks control their projections in the way that they can make the projections precise enough to eliminate the likely level of imprecision of output target. This study assume that central bank that faces the problem of systematic biased will tries to minimize the quadratic loss function, subject to their views of transmission mechanism and also commit to control the precision of the target criterion within some credible limits. In addition, central bank imposes band on the target criterion in order to controlling the precision of target criterion. In order to describe this procedure in theoretical monetary policy model, this study employs the idea of “optimal inflation contract” and inflation deviation (amount of gap between inflation rate and its target value) must depend on economic conditions. Thus, if bandwidth becomes narrower, it implies that the inflation gap will expect to be smaller. The more likely smaller inflation gap is the more likely lesser response of inflation with output gap. This study found that band-targeting is neither rigid as “conservative weight” nor costly as “inflation contract”. Therefore, it can bring the second-best equilibrium to society (as inflation contract) at best, or it can bring third-best equilibrium to society (as conservative weight) at least. However, the tolerance band-targeting mechanism seems to have some non-robustness character across different central bank’s views of transmission. In order promote the robustness of tolerance band-targeting mechanism we need to: First, increase the number of member in monetary policy committee who has great distaste in losing policy credibility. Second, create institutional arrangement for policy deliberation that emphasis the value of establishing policy credibility, such as Reserve Bank of New Zealand Act of 1989. Finally, increase the degree of transparency in monetary policy which is the explicit communication about the reasoning behind decisions, i.e., the target criterion. However, there are rich number of future economic events and central bank need to evaluate the new event from their prior evaluation. Therefore, the target criterion needs to have some degree of explicit formula and prescribes the possible actions in any events, such as, announcing the target criterion and specify boundaries. | en_US |
dc.description.abstractalternative | นโยบายการเงินในปัจจุบันมุ่งเน้นบทบาทของความคาดหมายของตัวแทนทางเศรษฐกิจต่อเศรษฐกิจมหภาค และดูเหมือนเป็นความเห็นพ้องโดยทั่วกันว่า ผลกระทบของนโยบายการเงินขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนแปลงการคาดการณ์แนวอัตราดอกเบี้ยแท้จริงในอนาคตอย่างมีนัยสำคัญ เพราะฉะนั้นธนาคารกลางหลายแห่งจึงเพิ่มการสื่อสารของตน ในทางที่จะสามารถกำหนดการคาดการณ์ของสาธารณะชนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของนโยบายการเงิน ในทางปฏิบัติธนาคารกลางที่ดำเนินกลยุทธ์การตั้งเป้าหมายอัตราเงินเฟ้อได้ออก “เกณฑ์เป้าหมาย”(target criterion) ซึ่งมีที่มาจากเงื่อนไขในการกำหนดนโยบายการเงินที่เหมาะสม อย่างไรก็ตาม ธนาคารกลางอาจกำหนดนโยบายการเงินที่ลำเอียง เพราะเผชิญ ปัญหาระบบการตัดสินใจลำเอียง (systematic biased problem) ซึ่งเป็นผลให้เป้าหมายช่องว่างผลผลิต (output gap) ไม่สอดคล้องกับระดับช่องว่าผลผลิตที่เหมาะสม จึงเป็นเหตุให้ธนาคารกลางควบคุมความแม่นยำของนโยบายการเงินให้เพียงพอที่จะขจัดความลำเอียงที่มาจากเป้าหมายช่องว่างผลผลิตที่คลาดเคลื่อน การศึกษานี้กำหนดให้ธนาคารกลางที่ประสบปัญหาระบบการตัดสินใจลำเอียงพยายามที่จะลดความผันผวนของอัตราเงินเฟ้อและเศรษฐกิจในระยะสั้นให้ต่ำที่สุดภายใต้มุมมองกลไกการส่งผ่านนโยบายการเงิน และให้คำมั่นสัญญาที่จะควบคุมความแม่นยำของเกณฑ์เป้าหมายให้อยู่ในระดับที่น่าเชื่อถือ อีกทั้งกำหนดให้ธนาคารกลางกำหนดขอบเขต (band) ที่เหมาะสมในการควบคุมความแม่นยำของเกณฑ์เป้าหมาย ทั้งนี้เพื่อที่จะอธิบายกระบวนการกำหนดนโยบายการเงินดังกล่าวในรูปแบบจำลองตามทฤษฎีนโยบายการเงิน การศึกษานี้ได้นำแนวคิด “สัญญาอัตราเงินเฟ้อที่เหมาะสม”(optimal inflation contract) และการเบี่ยงเบนของเงินเฟ้อ (ขนาดความแตกต่างระหว่างอัตราเงินเฟ้อและอัตราเงินเฟ้อเป้าหมาย) ต้องขึ้นอยู่กับสถานการณ์เศรษฐกิจ หากขอบเขตของการเบี่ยงเบนของเงินเฟ้อลดลงมากเท่าไร ยิ่งหมายความว่าการเบี่ยงเบนของเงินเฟ้อลดลงมากขึ้นเท่านั้น และยิ่งมีแนวโน้มที่การเบี่ยงเบนของเงินเฟ้อลดลงมากเท่าไร ก็ยิ่งมีแนวโน้มที่อัตราเงินเฟ้อจะตอบสนองกับการปรับตัวของช่องว่างผลผลิตมากขึ้นเท่านั้น การศึกษานี้ พบว่า การตั้งเป้าหมายแบบช่วงของอัตราเงินเฟ้อ (inflation band targeting) แตกต่างจากวิธีการ “เน้นแนวทางอนุรักษ์นิยม” (conservative weight) หรือวิธีการ “กำหนดสัญญาอัตราเงินเฟ้อ” (inflation contract) นอกจากนี้หากดำเนินวิธีการตั้งเป้าหมายแบบช่วงของอัตราเงินเฟ้อสามารถนำพาสังคมเข้าสู่ดุลยภาพ อย่างดีที่สุด คือ ดุลยภาพระดับสอง (second-best equilibrium) (เช่นเดียวกับการมีสัญญาอัตราเงินเฟ้อ) และอย่างแย่ที่สุด คือ ดุลยภาพระดับสาม (third-best equilibrium) (เช่นเดียวกับการเน้นแนวทางอนุรักษณ์นิยม) อย่างไรก็ตามกลไกการทำงานของการตั้งเป้าหมายแบบช่วงของอัตราเงินเฟ้อดูเหมือนจะมีลักษณะบางประการที่ไม่เสถียร (non-robustness) หากธนาคารกลางเปลี่ยนมุมมองต่อกลไกการส่งผ่านนโยบายการเงินไป หากธนาคารกลางต้องการสนับสนุนให้กลไกการตั้งเป้าหมายแบบช่วงของอัตราเงินเฟ้อมีความเสถียรยิ่งขึ้น ธนาคารกลางอาจใช้มาตรการดังนี้ มาตรการที่หนึ่ง การเพิ่มจำนวนคณะกรรมการนโยบายการเงินที่ใส่ใจอย่างมาก ต่อการสูญเสียความน่าเชื่อถือของนโยบายการเงิน มาตรการที่สอง การสร้างมาตรการการกำหนดนโยบายการเงิน ซึ่งให้ความสำคัญต่อการสร้างความน่าเชื่อถือของนโยบายการเงิน ยกตัวอย่างเช่น พระราชบัญญัติธนาคารกลางประเทศนิวซีแลนด์ ปี ค.ศ. 1989 และมาตรการสุดท้าย การเพิ่มระดับความโปร่งใสต่อการดำเนินนโยบายการเงิน โดยธนาคารกลางสื่อสารเหตุผลเบื้องหลังในการตัดสินใจกำหนดนโยบายการเงินอย่างชัดเจน กล่าวคือ การประกาศเกณฑ์เป้าหมาย แต่เนื่องด้วยเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจในอนาคตมีโอกาสเป็นไปได้หลายลักษณะ และธนาคารกลางอาจต้องประเมินเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจใหม่ๆ ที่เพิ่มขึ้นจากเคยที่คาดคะเนไว้ก่อนหน้าอยู่บ่อยครั้ง เพราะฉะนั้น เกณฑ์เป้าหมายที่นำมาใช้ต้องมีลักษณะที่เป็นสูตรตายตัว และรองรับการดำเนินนโยบายที่แตกต่างกันในแต่ละเหตุการณ์ ยกตัวย่างเช่น การประกาศเกณฑ์เป้าหมาย และระบุขอบเขตในการควบคุมความแม่นยำ | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chulalongkorn University | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.359 | |
dc.rights | Chulalongkorn University | en_US |
dc.subject | Inflation targeting | |
dc.subject | Monetary policy | |
dc.subject | การกำหนดเป้าหมายเงินเฟ้อ | |
dc.subject | นโยบายการเงิน | |
dc.title | Monetary Policy of Inflation Band Targeting under Uncertatinty | en_US |
dc.title.alternative | นโยบายการเงินกับแบบจำลองกระจายไม่แน่นอนพยากรณ์เป้าหมายแบบช่วง | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | Doctor of Philosophy | en_US |
dc.degree.level | Doctoral Degree | en_US |
dc.degree.discipline | Economics | en_US |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | en_US |
dc.email.advisor | Pongsa.P@Chula.ac.th | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2014.359 |