dc.contributor.advisor |
นิพิฐ วงศ์ปัญญา |
en_US |
dc.contributor.author |
กิจธนันต์ ปัญญาพัฒนสุข |
en_US |
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์ |
en_US |
dc.date.accessioned |
2015-09-19T03:39:49Z |
|
dc.date.available |
2015-09-19T03:39:49Z |
|
dc.date.issued |
2557 |
en_US |
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46490 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557 |
en_US |
dc.description.abstract |
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเติบโตทางเศรษฐกิจ การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ การลงทุนในประเทศ ทั้งทิศทางความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล และรูปแบบของความสัมพันธ์ระยะยาว ตลอดจนผลกระทบระหว่างตัวแปรดังกล่าวทั้งในระยะสั้นและระยะยาว โดยใช้สมการระยะยาวทั้ง 3 สมการคือสมการผลผลิตมวลรวมระยะยาว สมการการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในระยะยาว และสมการการลงทุนในประเทศในระยะยาวซึ่งได้วิเคราะห์ข้อมูลอนุกรมเวลาประเทศไทยในช่วงปี พ.ศ. 2541 – 2544 ไตรมาสสองด้วยเครื่องมือทางเศรษฐมิติอนุกรมเวลาคือ Vector Error Correction Model (VECM) ที่ใช้ทดสอบความสัมพันธ์ระยะยาวและพลวัตการปรับตัวในระยะสั้นจากนั้นนำไปวิเคราะห์ผลกระทบต่อตัวแปรต่างๆในระบบด้วย Impulse Response Function ผลการศึกษาพบว่าการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศการลงทุนในประเทศและทุนมนุษย์ส่งผลทางบวกต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจในระยะยาว, การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศและการลงทุนในประเทศมีผลกระทบทางบวกซึ่งกันและกันในระยะยาว ดังนั้นรัฐบาลควรจูงใจให้เกิดการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศโดยเฉพาะในอุตสาหกรรมที่เชื่อมโยงกับการลงทุนในประเทศในระยะยาว ส่วนบทบาททุนมนุษย์นั้นเป็นปัจจัยการผลิตที่สำคัญต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจในระยะยาวรัฐบาลควรส่งเสริมการศึกษาผ่านการเพิ่มงบประมาณด้านการศึกษาและพัฒนาทุนมนุษย์ในทิศทางที่จะสามารถนำความรู้ใหม่ไปใช้พัฒนาการลงทุนในประเทศได้ ซึ่งไม่ได้มาจากการเก็บเงินภาษีเพิ่มขึ้นเนื่องจากจะทำให้เกิดปัญหากับทั้งกระบวนการสะสมทุนมนุษย์และทุนกายภาพซึ่งจะส่งผลให้เศรษฐกิจเติบโตได้น้อยลง |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The objectives of this study is to evaluate the existing of long-run equilibrium, dynamic Impacts among economic growth, foreign direct investment (FDI) and domestic investment (INV) of Thailand. Time series analysis, especially Co-integration and Vector Error Correction Model (VECM) with Impulse Response is utilized to implement the task through 3 different long-run equations with human capital; the long-run equation of GDP, FDI and INV. Data cover the quarterly from 1998Q1 to 2011Q2 and all are in real term. After incorporating some particular related determinant variables for each equation which were adapted from literatures to enlighten Thailand regime, I found the existing of long run equilibrium of those 3 equations. FDI, investment and human capital have positive impact on economic growth. FDI and domestic investment are positively relations. Hence Thai’s government should motivate especially FDI which link to domestic investment in the long-run. Finally human capital is the important factor for long-run growth implies the need for educational budget enhancement which not taxation because it convey the disposable income reduction affecting the human and capital accumulation then be detrimental to economic growth. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.title |
การเติบโตทางเศรษฐกิจ การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ และการลงทุนภายในประเทศ : กรณีศึกษาประเทศไทย |
en_US |
dc.title.alternative |
ECONOMIC GROWTH, FOREIGN DIRECT INVESTMENT AND GROSS DOMESTIC INVESTMENT : THE CASE STUDY OF THAILAND |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
เศรษฐศาสตร์ |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
Nipit.W@chula.ac.th,Nipit.W@Chula.ac.th |
en_US |