dc.contributor.advisor |
ทัชชมัย ทองอุไร |
en_US |
dc.contributor.author |
ภาวิณี อุดมใหม่ |
en_US |
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์ |
en_US |
dc.date.accessioned |
2015-09-19T03:39:56Z |
|
dc.date.available |
2015-09-19T03:39:56Z |
|
dc.date.issued |
2557 |
en_US |
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46501 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557 |
en_US |
dc.description.abstract |
การศึกษาวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจะทราบว่าพันธกรณีตามความตกลงการเป็นหุ้นส่วนด้วยความสมัครใจ (Voluntary Partnership Agreement: VPA) ภายใต้กฎระเบียบสหภาพยุโรปว่าด้วยไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ [EU Timber Regulation (995/2010)] ส่งผลให้ต้องมีการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายไทยที่เกี่ยวกับการกำกับดูแลการทำไม้และผลิตภัณฑ์ไม้หรือไม่ ในการศึกษาวิจัย ผู้เขียนได้อธิบายถึงหลักกฎหมายระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมกับมาตรการทางการค้าภายใต้ WTO หลักการสำคัญตาม EUTR และหลักการสำคัญภายใต้พันธกรณีตาม VPA จากการศึกษาดังกล่าวสรุปได้ว่า แม้ว่า EUTR จะเป็นมาตรการฝ่ายเดียวทางการค้าที่ขัดกับหลักการของ WTO ก็ตาม แต่เนื่องจาก EUTR เป็นมาตรการที่ก่อให้เกิดภาระและความเสี่ยง ต่อผู้ประกอบการไทยที่ส่งออกไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ไปยังสหภาพยุโรป ดังนั้น ประเทศไทยจึงควร เข้าทำ VPA เพื่อผลประโยชน์ต่อผู้ประกอบการไทย และเพื่อการพัฒนากฎหมายของไทยที่เกี่ยวข้อง กับการกำกับดูแลการทำไม้ อันจะทำให้การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ของไทยมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ในกรณีที่ประเทศไทยเข้าทำ VPA กับสหภาพยุโรป ประเทศไทยจะต้องปฏิบัติตามพันธกรณีตาม VPA โดยพันธกรณีที่สำคัญคือ การจัดตั้งระบบประกันความถูกต้องตามกฎหมาย ของไม้ เพื่อใช้สำหรับการตรวจสอบความถูกต้องตามกฎหมายของไม้ตลอดทั้งห่วงโซ่อุปทาน ทั้งนี้ หากกฎหมายไทยมีช่องว่าง มีความขัดกัน หรือมีความไม่เสมอกันของกฎหมายที่กำกับดูแลการทำไม้ ประเทศไทยจะต้องดำเนินการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องดังกล่าว จากการศึกษาวิจัยนี้ พบว่ากฎหมายไทยต้องมีการแก้ไขปรับปรุงในเรื่องการให้อำนาจ กรมป่าไม้ในการทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์เพื่อรองรับระบบการตรวจสอบความถูกต้องตามกฎหมายของไม้นำเข้า การจัดตั้งองค์กรที่มีอำนาจรับรองแหล่งที่มาของไม้สำหรับไม้บางชนิดที่ยังไม่มีกฎหมายกำกับดูแล การปรับปรุงกฎหมายซึ่งกำกับดูแลด้านการแบ่งปันผลประโยชน์อย่างเป็นธรรม และการจัดตั้งระบบการออกใบอนุญาต FLEGT |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
This research was carried out with objective of studying the obligations on Voluntary Partnership Agreement (VPA) under the EU Timber Regulation NO.995/2010 (EUTR) whether they affect to revise the Thai laws that control the logging of timber and timber products for exporting to the EU market. This research has explained the principles of international rules on the environmental protection measure under WTO, the principles of EUTR and the obligations on VPA. The results from this research were concluded that although EUTR is a unilateral trade measure which is against the rule of WTO, but it causes burdens and risks for Thai operators who export timber and timber products to EU. Therefore Thailand should enter into VPA for the benefit of Thai operators and for development of Thai laws that control the logging in order to improve the efficient protection on Thai forest. In case of Thailand entering into VPA with EU, Thailand shall implement the obligations under VPA. The important part of the obligations is the establishment of timber legality assurance systems to verify the timber legality throughout the supply chain. If there are gaps, conflicts or inequitableness in Thai laws related to control timber supply chain, Thailand shall revise such laws in order to resolve them. The analysis of this research showed that Thai laws shall be revised in these issues: to authorise the Royal Forest Department to do electronic transactions for supporting the legality verification system of the imported timbers, to establish the organisation to certify timber sources which are not controlled by the laws, to develop the laws related to benefit sharing and to establish the issuing FLEGT licence system. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1278 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
กฎหมายสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ |
|
dc.subject |
ผลิตภัณฑ์ไม้ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทย |
|
dc.subject |
ผลิตภัณฑ์ไม้ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- กลุ่มประเทศสหภาพยุโรป |
|
dc.subject |
ไม้ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทย |
|
dc.subject |
ไม้ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- กลุ่มประเทศสหภาพยุโรป |
|
dc.subject |
Environmental law, International |
|
dc.subject |
Wood products -- Law and legislation -- Thailand |
|
dc.subject |
Wood products -- Law and legislation -- European Union countries |
|
dc.subject |
Wood -- Law and legislation -- Thailand |
|
dc.subject |
Wood -- Law and legislation -- European Union countries |
|
dc.subject |
กฎหมายสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ |
|
dc.subject |
ผลิตภัณฑ์ไม้ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทย |
|
dc.subject |
ผลิตภัณฑ์ไม้ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- กลุ่มประเทศสหภาพยุโรป |
|
dc.subject |
ไม้ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทย |
|
dc.subject |
ไม้ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- กลุ่มประเทศสหภาพยุโรป |
|
dc.subject |
Environmental law, International |
|
dc.subject |
Wood products -- Law and legislation -- Thailand |
|
dc.subject |
Wood products -- Law and legislation -- European Union countries |
|
dc.subject |
Wood -- Law and legislation -- Thailand |
|
dc.subject |
Wood -- Law and legislation -- European Union countries |
|
dc.title |
ผลกระทบของกฎระเบียบสหภาพยุโรปว่าด้วยไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ [EU Timber Regulation (995/2010)] ต่อกฎหมายของประเทศไทย |
en_US |
dc.title.alternative |
EFFECTS OF EU TIMBER REGULATION NO.995/2010 ON THAI LAWS |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
นิติศาสตรมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
นิติศาสตร์ |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
Tashmai.R@chula.ac.th |
en_US |
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2014.1278 |
|