DSpace Repository

Labour Migration, Human Security and Migration Impacts in Rural Cambodia: Case Study in Kampong Thom Province

Show simple item record

dc.contributor.advisor Supang Chantavanich en_US
dc.contributor.author Yan Chun Lim en_US
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Political Science en_US
dc.date.accessioned 2015-09-19T03:41:44Z
dc.date.available 2015-09-19T03:41:44Z
dc.date.issued 2014 en_US
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46650
dc.description Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2014 en_US
dc.description.abstract In recent years, academic and the non-governmental organizations have urged the Cambodian Government to provide migrants with information to inform their decisions better. Yet, such needed information have not been empirically researched. Through a field-based survey, this paper seeks to develop rich and illustrative accounts of why rural Cambodians migrate, the options they have, how they decide on which option to take and the implications of such decision-making. This study found that labour migration in rural Cambodia is primarily motivated by economic factors, with most migrants aspiring to migrate for work to earn more income, so as to return back to their “homeland” with more economic resources. This study also found that labour migrants not only have to choose the geographical locality to migrate to, they also have to choose the types of job and whether to migrate legally or illegally. Even within the same locality, the legal status and the nature of jobs have significant implications on the migration outcomes. Also, this paper found that migration outcomes are often determined by factors that are beyond the control of the migrant, but rather are dependent on the employer and middlemen engaged. Instead, what a migrant can control is how he or she collects information and make decisions that minimizes risks and focuses on attaining their migrant aspirations. This paper found that those who react to migration information critically, based their decisions on lessons learnt from past migration episodes, and are informed by a longer-term strategy, tend to be more successful in attaining their desired migration aspirations. en_US
dc.description.abstractalternative การเคลื่อนย้ายแรงงานเป็นปรากฏการณ์ที่ยิ่งใหญ่ของประเทศกัมพูชา อย่างไรก็ตามประเด็นนี้ยังเป็นประเด็นที่ไม่ค่อยมีงานวิจัยออกมามากนัก การเคลื่อนย้ายแรงงานสำหรับชาวกัมพูชาจากพื้นที่ชนบทเป็นกุญแจสำคัญที่จะให้โอกาสทางการจ้างงานและยกระดับคุณภาพชีวิตของพวกเขาให้ดีขึ้นได้ อย่างไรก็ตามพวกเขาต้องเผชิญกับทางเลือกต่างๆในการเคลื่อนย้ายแรงงาน ทางเลือกเหล่านี้หมายถึง พวกเขาต้องมีทุนในการเคลื่อนย้าย ต้องเผชิญกับความท้าทายและความไม่มั่นคงรวมถึงผลกระทบนานาประการ จึงเกิดคำถามขึ้นว่าพวกเขาจะเลือกจะเดินอย่างไร ที่ผ่านมา นักวิชาการและองค์กรที่ไม่แสวงหากำไร (NGOs) เรียกร้องให้รัฐบาลกัมพูชาให้ข้อมูลในการเคลื่อนย้ายแรงงานกับแรงงานกัมพูชาเพื่อที่จะช่วยพวกเขาเลือกและตัดสินใจได้ดีขึ้น อย่างไรก็ตามข้อมูลดังกล่าวยังไม่ได้ถูกศึกษาในเชิงประจักษ์ออกมายืนยันความชัดเจนของข้อมูล จากการศึกษาโดยการสำรวจพื้นที่จริงจะให้ข้อมูลเชิงลึกว่า ทำไมแรงงานกัมพูชาย้ายถิ่น ทางเลือกที่พวกเขามีก่อนย้ายถิ่น พวกเขาตัดสินใจเลือกทางเดินเหล่านี้อย่างไรและสิ่งที่สามารถสรุปโดยนัยจากการตัดสินใจของพวกเขา ผลงานววิจัยพบว่าแรงงานกัมพูชามีปัจจัยทางเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนการย้ายถิ่น แรงงานส่วนใหญ่ย้ายถิ่นเพื่อค่าแรงที่มากขึ้นและหวังที่จะกลับบ้านเกิดด้วยทรัพยากรทางเศรษฐกิจที่มากขึ้น งานวิจัยยังพบอีกว่า แรงงานกัมพูชาไม่เพียงแต่ที่จะต้องตัดสินใจเลือกพื้นที่ทางภูมิศาสตร์เพื่อที่จะเคลื่อนย้ายแรงงาน แต่พวกเขาต้องเลือกประเภทของงานว่าจะเคลื่อนย้ายแบบถูกกฏหมายหรือผิดกฏหมาย ดังนั้นทางเลือกในการเคลื่อนย้ายแรงงานตามที่ได้สัมภาษณ์แรงงานกัมพูชาและจากงานวิจัยก่อนหน้านี้ที่กล่าวว่าทางเลือกหลักขึ้นอยู่กับพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ งานวิจัยชิ้นนี้กลับพบว่าแม้แรงงานในพื้นที่เดียวกัน ด้วยสถานะทางกฏหมายและประเภทของงานย่อมทำให้ผลของการเคลื่อนย้ายแรงงานแตกต่างกัน ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงนำเสนอให้เห็นถึงผลกระทบต่อชีวิตของแรงงานจากทางเลือกในการเคลื่อนย้ายแรงงานที่แตกต่างกัน งานวิจัยนี้พบว่าผลของการเคลื่อนย้ายแรงงานส่วนมากจะถูกกำหนดโดยปัจจัยที่นอกเหนือจากการจัดการของแรงงานเองแต่ขึ้นอยู่กับนายจ้างและพ่อค้าคนกลาง สิ่งที่แรงงานสามารถควบคุมได้คือ การที่พวกเขารวบรวมข้อมูลประกอบในการตัดสินใจในการเคลื่อนย้ายเพื่อลดความเสี่ยงและประสบความสำเร็จตามที่พวกเขาคาดหวัง งานวิจัยนี้พบรูปแบบในการตัดสินใจเคลื่อนย้ายแรงงาน 3 รูปแบบ ขึ้นอยู่กับว่าแรงงานตอบสนองกับข้อมูลอย่างไร และข้อมูลชิ้นไหนที่พวกเขาเลือกอ้างอิงเป็นหลัก เปรียบเทียบทั้ง 3 รูปแบบของการตัดสินใจแล้ว งานวิจัยนี้พบว่าแรงงานที่ตอบสนองโดยวิเคราะห์ข้อมูลในการเคลื่อนย้ายแรงงาน อ้างอิงข้อมูลจากการเคลื่อนย้ายแรงงานจากประสบการณ์และมีกลยุทธ์การเคลื่อนย้ายแรงงานระยะยาว มีความเป็นไปได้มากกว่าที่จะประสบความสำเร็จตามที่พวกเขาคาดหวัง en_US
dc.language.iso en en_US
dc.publisher Chulalongkorn University en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.406
dc.rights Chulalongkorn University en_US
dc.subject Rural-urban migration -- Cambodia -- Kampong Thum
dc.subject Migrant labor -- Cambodia -- Kampong Thum
dc.subject Human security
dc.subject การย้ายถิ่นจากชนบทสู่เมือง -- กัมพูชา -- กำปงธม
dc.subject การย้ายถิ่นของแรงงาน -- กัมพูชา -- กำปงธม
dc.subject ความมั่นคงของมนุษย์
dc.title Labour Migration, Human Security and Migration Impacts in Rural Cambodia: Case Study in Kampong Thom Province en_US
dc.title.alternative การเคลื่อนย้ายแรงงาน ความมั่นคงของมนุษย์และผลกระทบจากการเคลื่อนย้ายแรงงานในพื้นที่ชนบทของกัมพูชา: กรณีศึกษาในจังหวัดกำปงธม en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name Master of Arts en_US
dc.degree.level Master's Degree en_US
dc.degree.discipline International Development Studies en_US
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en_US
dc.email.advisor Supang.C@Chula.ac.th,chansupang@gmail.com en_US
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2014.406


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record