dc.contributor.advisor |
อรวรรณ ปิลันธน์โอวาท |
|
dc.contributor.author |
วาริศา พลายบัว |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
|
dc.date.accessioned |
2016-02-18T06:25:49Z |
|
dc.date.available |
2016-02-18T06:25:49Z |
|
dc.date.issued |
2532 |
|
dc.identifier.isbn |
9745699837 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47200 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532 |
en_US |
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบรูปแบบการสื่อสารภายในครอบครัว การเปิดรับสื่อมวลชนและทัศคติต่อสถานภาพสตรี ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการสื่อสารภายในครอบครัว แบบปิดแบบเปิดและแบบปล่อย กับการเปิดรับสื่อสารมวลชน ความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับสื่อมวลชนกับทัศนคติต่อสถานภาพสตรีความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการสื่อสารภายในครอบครัวแบบปิด แบบเปิดและแบบปล่อย กับทัศนคติต่อสถานภาพสตรี และเพื่อเปรียบเทียบความแต่ต่างในด้านการเปิดรับสื่อมวลชน และทัศคติต่อสถานภาพสตรีของนักศึกษาต่างเพศ และนักศึกษาต่างกลุ่มหลักสูตร กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาคือ กลุ่มนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ สังกัดทบวงมหาวิยาลัย ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 250 คน ผลการวิจัยพบว่ารูปแบบการสื่อสารภายในครอบครัวแบบปิดไม่มีความสัมพันธ์กับการเปิดรับสื่อมวลชน แต่รูปแบบการสื่อสารภายในครอบครัวแบบเปิดและแบบปล่อยมีความสัมพันธ์กับการเปิดรับสื่อมวลชนการเปิดรับสื่อมวลชนไม่มีความสัมพันธ์กับทัศนคติต่อสถานภาพสตรี รูปแบบการสื่อสารภายในครอบครัวทั้งแบบปิด แบบเปิดและแบบปล่อยไม่มีความสัมพันธ์กับทัศนคติต่อสถานภาพสตรี ในการเปรียบเทียบระหว่างเพศ พบว่านักศึกษาชายและหญิงไม่แตกต่างในด้านการเปิดรับสื่อมวลชน แต่แตกต่างกันในเรื่องทัศนคติต่อสถานภาพสตรี โดยนักศึกษาหญิงมีทัศนคติเป็นไปในทางบวกกับการยกระดับสถานภาพสตรีมากกว่านักศึกษาชายสำหรับการเปรียบเทียบระหว่างหลักสูตรพบว่า นักศึกษาในหลักสูตรที่เน้นหนักวิชาการเปิดรับสื่อมวลชนมากกว่านักศึกษาในหลักสูตรที่มีปฏิสัมพันธ์กับมนุษย์โดยตรง แต่นักศึกษาในหลักสูตรที่มีปฏิสัมพันธ์กับมนุษย์โดยตรง มีทัศนคติเป็นไปในทางบวก กับการยกระดับสถานภาพสตรีมากกว่านักศึกษาในหลักสูตรที่เน้นหนักวิชาการและนักศึกษาในหลักสูตรที่มุ่งผลิตสินค้าและให้บริการ |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this study is to investigate the attitude towards women among university students in Bangkok metropolis area. The relationships between students' family communication patterns, students' mass media exposure and their attitude towards women were examined. Moreover, mass media exposure and attitude towards women were investigated with regards to sex and education programs. The results of this study show that there was a significant correlation between the open-random family communication patterns and mass media exposure and no significant correlation was found between the closed family communication patterns and mass media exposure. There was neither significant correlation between mass media exposure and attitude towards women nor between family communication patterns and attitude towards women. The t-value of sex and mass media exposure reveals that no significant differenoe existed between students' exposure to mass media and their sex. And the t-test between sex and attitude towards women indicates that students of different sexes had significantly different attitude towards women. The anayss of variance indicates that mass media exposure and attitude towards women among students of different education programs were significantly different from one another. Students of theory-oriented program were more exposed to mass media than students of manrelatedness program. With regards to attitude towards women, students with man-relatedness orientation were more positive than students with theory orientation and students with production-and-service orientation. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
การสื่อสารในครอบครัว -- ไทย |
en_US |
dc.subject |
สื่อมวลชนกับครอบครัว |
en_US |
dc.subject |
สตรี -- ไทย -- ภาวะสังคม |
en_US |
dc.subject |
Communication in the family -- Thailand |
en_US |
dc.subject |
Mass media and families |
en_US |
dc.subject |
Women -- Thailand -- Social conditions |
en_US |
dc.title |
รูปแบบการสื่อสารภายในครอบครัว การเปิดรับสื่อมวลชนและทัศนคติต่อสถานภาพสตรี ของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร |
en_US |
dc.title.alternative |
Family communication patterns media exposure and attitude towards women of university students in Bangkok Metropolis |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
การประชาสัมพันธ์ |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
Orawan.P@Chula.ac.th |
|