dc.contributor.author |
อัจฉราภรณ์ เปี่ยมสมบูรณ์ |
|
dc.contributor.author |
สมภพ รุ่งสุภา |
|
dc.contributor.author |
ณิชยา ประดิษฐ์ทรัพย์ |
|
dc.contributor.author |
ทิพวรรณ ตัณฑวณิช |
|
dc.contributor.author |
อานุภาพ พานิชผล |
|
dc.contributor.author |
ทัชชา โชคตปมิตต์กานนท์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ำ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2016-11-25T09:36:16Z |
|
dc.date.available |
2016-11-25T09:36:16Z |
|
dc.date.issued |
2554 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49778 |
|
dc.description.abstract |
ทำการศึกษาความหลากหลายและการกระจายของสิ่งมีชีวิตหน้าดินขนาดเล็กและสาหร่ายหน้าดินขนาดเล็กในแนวปะการังของเกาะแสมสารและเกาะท้ายค้างคาวซึ่งเป็นตัวแทนของปะการังในในกลุ่มเกาะสีชัง โดยเก็บตัวอย่างดินจากแนวปะการังสองด้านของแต่ละเกาะในฤดูแล้ง เดือนพฤศจิกายน 2553 และฤดูฝนเดือนพฤษภาคมถึงเดือนกรกฎาคม 2554 นอกจากนี้ได้ทำการตรวจวัดปัจจัยสภาพแวดล้อมในแนวปะการะงในระหว่างเก็บตตัวอย่างและเก็บน้ำสำหรับการวิเคราะห์ปริมาณสารอาหารอนินทรีย์ละลายน้ำและศึกษาการกระจายของสัตว์ทะเลขนาดใหญ่ในบริเวณที่เก็บตัวอย่างด้วย ผลการศึกษาพบว่าสภาพแวดล้อมในฤดูฝนมีปริมาณสารอาหารไนโตรเจนอนินทรีย์สูงกว่าสารอาหารฟอสฟอรัส ส่วนอุณหภูมิและความเค็มของน้ำทะเลอยู่ในช่วงปกติ แนวปะการังของเกาะแสมสารและเกะท้ายค้างคาวมีปะการังแบบโขดหรือปะการังก้อน (Porites spp.) เป็นกลุ่มเด่น สัตว์ทะเลหน้าดินขนาดเล็กที่พบเป็นกลุ่มเด่นคือ ไส้เดือนตัวกลม (Nematodes) และ Harpacticoid copepods ส่วนฟอแรมมินิเฟอร่าที่พบเป็นกลุ่มเด่นอยู่ในครอบครัว Hauerinidae และครอบครัว Cornuspiridae ความหนาแน่นของฟอแรมมินิเฟอร่าในฤดูฝนมีค่าสูงกว่าในฤดูแล้ง สาหร่ายหน้าดินขนาดเล็กที่พบมีความหลากหลายระดับสกุลถึง 54 สกุล ซึ่งสูงกว่าการศึกษาในปีที่ผ่านมา สาหร่ายหน้าดินขนาดเล็กที่เป็นกลุ่มเด่นอยู่ในกลุ่มของ Pennate diatom ในสกุล Amphora และสกุล Navicula ซึ่งมีความหลากหลายในระดับชนิดสูงด้วย องค์ประกอบของฟอแรมมินิเฟอร่าและสาหร่ายหน้าดินขนาดเล็กกลุ่มเด่นในบริเวณแนวปะการังของเกาะแสมสารและเกาะท้ายค้างคาวมีความคล้ายคลึงกัน |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The study of diversity and distribution of meiofauna, benthic microalgae and foraminiferans in particular, was carried out in the coral reef communities of Sa-maesarn Island and Tai kangkoa Island (as the representative of Sichang coral reef). Field samplings were conducted in coral reefs located on east and west or north shores of each islands in dry season (November 2010) and rainy season (May-July 2011). Prior to the sampling, environmental parameters were measured in situ. Coral reef survey was also conducted along using the transect method to determined the coral coverage area in the sampling sites. Water samples as well as sediment samples were collected for the analyses of dissolved inorganic nutrients, benthic microalgae, foraminiferans and other meiofauna. Our results showed that the coral reef of both islands was dominated by massive coral and the meiofuanal communites were dominated by Nematode worms followed by Harpacticoid copepods. The community structure of foraminferans and benthic microalgae in both islands were not different. The dominant foraminferans found in these areas were of the family Hauerinidae and family Cornuspiridae. Foraminiferans were more abundant in the rainy season than in the dry season. Communities of benthic microalgae in both islands were dominated by pennate diatoms of genus Amphora and genus Navicula which were also the most diverse genus in term of species found in these coral reefs. |
en_US |
dc.description.sponsorship |
ทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน ปี 2554 |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
สัตว์ทะเล -- เกาะแสมสาร (ชลบุรี) |
en_US |
dc.subject |
สัตว์ทะเล -- เกาะสีชัง (ชลบุรี) |
en_US |
dc.subject |
สาหร่ายทะเล |
en_US |
dc.subject |
โปรโตซัว |
en_US |
dc.subject |
ฟองน้ำ |
en_US |
dc.subject |
ปะการัง |
en_US |
dc.subject |
หอย |
en_US |
dc.title |
การศึกษาเปรียบเทียบความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์ทะเลหน้าดินและสาหร่ายหน้าดินขนาดเล็กในระบบนิเวศทางทะเลของเกาะแสมสารและเกาะสีชัง ในพื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ |
en_US |
dc.title.alternative |
Comparative study on biodiversity of marine benthos and benthic microalgae in the coastal ecosystems of Samaesan Islands and Sichang islands |
en_US |
dc.type |
Technical Report |
en_US |
dc.email.author |
ajcharap@sc.chula.ac.th |
|
dc.email.author |
rsompop@chula.ac.th |
|
dc.email.author |
nichaya.p@chula.ac.th |
|
dc.email.author |
tippawan.t@chula.ac.th |
|
dc.email.author |
Arnupap.P@Chula.ac.th |
|
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.discipline.code |
0110 |
en_US |