DSpace Repository

โมเดลความผูกพันทางความรู้สึกของเยาวชนต่อพรรคการเมือง

Show simple item record

dc.contributor.advisor ประพิมพา จรัลรัตนกุล en_US
dc.contributor.author พรรคพล กีรติภราดร en_US
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา en_US
dc.date.accessioned 2016-12-02T02:05:58Z
dc.date.available 2016-12-02T02:05:58Z
dc.date.issued 2558 en_US
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50891
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา โมเดลอิทธิพลของความเข้ากันของยุวประชาธิปัตย์กับพรรคประชาธิปัตย์ และภาพลักษณ์พรรคประชาธิปัตย์ ที่มีต่อความผูกพันทางความรู้สึกต่อพรรคประชาธิปัตย์ โดยมีการระบุตัวตนต่อพรรคประชาธิปัตย์เป็นตัวแปรส่งผ่าน ของยุวประชาธิปัตย์ อายุในช่วง 18 ถึง 24 ปี จำนวน 234 คน ตอบมาตรวัดภาพลักษณ์องค์การ มาตรวัดความเข้ากันของบุคคลกับองค์การ มาตรวัดการระบุตัวตนต่อองค์การ และมาตรวัดความผูกพันทางความรู้สึก ศึกษาโดยการวิเคราะห์เส้นทาง และโมเดลเชิงประจักษ์ ผลการวิจัยพบว่า 1. โมเดลความผูกพันทางความรู้สึกของยุวประชาธิปัตย์ต่อพรรคประชาธิปัตย์ มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์อยู่ในเกณฑ์ดี χ2 = 250.016, df = 224, p = .112, GFI = .917, CFI = .992, RMSEA = .022 2. การระบุตัวตนต่อพรรคประชาธิปัตย์เป็นตัวแปรส่งผ่านความสัมพันธ์ระหว่างความเข้ากันของยุวประชาธิปัตย์กับพรรคประชาธิปัตย์ และความผูกพันทางความรู้สึกต่อพรรคประชาธิปัตย์ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติระดับ .01 3. ไม่มีอิทธิพลส่งผ่านของการระบุตัวตนต่อพรรคประชาธิปัตย์ต่อความสัมพันธ์ระหว่างภาพลักษณ์พรรคประชาธิปัตย์ และความผูกพันทางความรู้สึกต่อพรรคประชาธิปัตย์ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ en_US
dc.description.abstractalternative The purpose of this study was to examine relationships of organizational image, person–organization fit, organizational identification, and affective commitment. Two–hundred and thirty–four ‘Youngdemocrats’ in the age of 18 to 24 completed a self–report questionnaire including organizational image scale (OI), person–organization fit scale (P–O FIT), organizational identification scale (OID), and affective commitment scale (AC). The path analysis was employed to examine the research model. The results: 1. The affective commitment model of Youngdemocrats to the Democrat party had a good–fit with the empirical model χ2 = 250.016, df = 224, p = .112, GFI = .917, CFI = .992, RMSEA = .022. 2. Organizational identification mediated between person–organization fit and affective commitment (p < .01). 3. The mediating role of organizational identification was not found for the relationship between organizational image and affective commitment. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2015.819
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject พรรคการเมือง
dc.subject พรรคประชาธิปัตย์
dc.subject ภาพลักษณ์องค์การ
dc.subject ความผูกพันต่อองค์การ
dc.subject Political parties
dc.subject Democrat Party
dc.subject Corporate image
dc.subject Organizational commitment
dc.title โมเดลความผูกพันทางความรู้สึกของเยาวชนต่อพรรคการเมือง en_US
dc.title.alternative The affective commitment model of youth to the political party en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline จิตวิทยา en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Prapimpa.J@chula.ac.th,Prapimpa.J@gmail.com en_US
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2015.819


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record