DSpace Repository

แบบจำลองเชิงพื้นที่เพื่อกำหนดพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในเขตท้องที่สถานีตำรวจนครบาลพญาไท

Show simple item record

dc.contributor.advisor พรรณี ชีวินศิริวัฒน์ en_US
dc.contributor.author นาลิศ กาปา en_US
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ en_US
dc.date.accessioned 2016-12-02T02:09:39Z
dc.date.available 2016-12-02T02:09:39Z
dc.date.issued 2558 en_US
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51049
dc.description วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558 en_US
dc.description.abstract งานวิจัยนี้มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษารูปแบบทางพื้นที่และเวลาของการเกิดอาชญากรรมในเขตท้องที่สถานีตำรวจนครบาลพญาไทและสร้างแบบจำลองกำหนดพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในเขตท้องที่สถานีตำรวจนครบาลพญาไท โดยใช้โปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System : GIS) และโปรแกรมด้านการวิเคราะห์สถิติ ในการวิเคราะห์ข้อมูลใช้ข้อมูลการเกิดอาชญกรรมในช่วง พ.ศ. 2556-2558 และปัจจัยที่คาดว่าจะส่งผลต่อการเกิดอาชญากรรม ได้แก่ ร้านสะดวกซื้อ (7-Eleven) ป้ายรถเมลล์ เส้นถนนที่เชื่อมต่อกับเส้นอื่น (ทางทะลุ) ทางเปลี่ยวในช่วงเวลากลางวัน ทางเปลี่ยวในช่วงเวลกลางคืน ขอบเขตชุมชนแออัด และที่อยู่อาศัย ผลการวิจัยพบว่ารูปแบบการเกิดอาชญกรรมในช่วงเวลากลางวันมีความแตกต่างจากกลางคืน แต่ยังมีบางพื้นที่ที่มีอาชญากรรมเกิดขึ้นทั้งกลางวันและกลางคืน นอกจากนี้ แบบจำลองพบว่า ป้ายรถเมล์ และชุมชนแออัดไม่มีผลต่อการเกิดอาชญากรรม และแบบจำลองสามารถสร้างอธิบายการเกิดอาชญากรรมในทุกช่วงเวลาได้ร้อยละ 51.6 เฉพาะที่เกิดเวลากลางวันได้ร้อยละ 67.4 และเฉพาะที่เกิดเวลากลางคืนได้ร้อยละ 47.4 en_US
dc.description.abstractalternative This research aims to study the spatial and temporal patterns of crime, and model areas at risk in the Phayathai Police area by using GIS (Geographic Information System: GIS) and statistical analysis programs. The crime data in 2013-2015 and seven factors that can affect crime were used in the analysis. The seven factors include convenience stores (7-Eleven), bus stops, roads connected to other lines, roads isolated during daytime, roads isolated during nighttime, slum areas, and residential areas.The results showed that crime patterns were different during daytime and nighttime, but there were some areas where the crime took place day and night. The model reported that bus stops and slum areas were not affected to crimes. Using the rest five factors, the model can explain the variations in crime occurring all-time, daytime, and nighttime at 51.6, 67.4, and 47.4 percent respectively. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2015.949
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject การสืบสวนอาชญากรรม
dc.subject สถานที่เกิดเหตุ
dc.subject การวิเคราะห์อาชญากรรม
dc.subject ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
dc.subject Criminal investigation
dc.subject Crime scenes
dc.subject Crime analysis
dc.subject Geographic information systems
dc.title แบบจำลองเชิงพื้นที่เพื่อกำหนดพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในเขตท้องที่สถานีตำรวจนครบาลพญาไท en_US
dc.title.alternative spatial model for determining crime-risk areasin the responsibility of Phayathai Police Station en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name อักษรศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline ภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศ en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Pannee.Ch@Chula.ac.th,panneew@hotmail.com,panneew@hotmail.com en_US
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2015.949


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record