DSpace Repository

ความแตกต่างระหว่างเพศและอายุในการเลือกคุณสมบัติของคู่ครอง

Show simple item record

dc.contributor.advisor คัคนางค์ มณีศรี
dc.contributor.author สิรินธร วงศ์ทนงศักดิ์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
dc.date.accessioned 2007-12-26T06:45:24Z
dc.date.available 2007-12-26T06:45:24Z
dc.date.issued 2545
dc.identifier.isbn 9741730926
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5140
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 en
dc.description.abstract ศึกษาว่าความแตกต่างระหว่างเพศและอายุเป็นปัจจัยสำคัญ ที่ทำให้มีการเลือกคุณสมบัติของคู่ครองแตกต่างกันหรือไม่ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามความคิดเห็น ในการเลือกคุณสมบัติของคู่ครอง เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นคนโสดและไม่เคยแต่งงาน และอาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร อายุระหว่าง 18-35 ปี จำนวนทั้งสิ้น 1,500 คน ผลการวิจัยพบว่า 1. การมีอายุมากกว่า มีรายได้มากกว่า มีการศึกษาสูงกว่า ฐานะทางบ้านดี สถานภาพทางสังคมสูง หน้าที่การงานมั่นคง ทะเยอทะยานและอุตสาหะ มีความรับผิดชอบ มีความมั่นคงทางอารมณ์ เคยใช้ชีวิตคู่มาแล้ว มีบุตรแล้ว เต็มใจที่จะลงทุนเพื่อบุตร เป็นที่ยอมรับของครอบครัว มีอารมณ์ขัน และเคยมีประสบการณ์ทางเพศมาแล้ว เป็นคุณสมบัติที่น่าพึงปรารถนาสำหรับผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001) 2. การมีอายุน้อยกว่า รูปร่างหน้าตาดี มีรายได้น้อยกว่า และมีการศึกษาต่ำกว่า เป็นคุณสมบัติที่น่าพึงปรารถนาสำหรับผู้ชายมากกว่าผู้หญิง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001) ส่วนการมีเชื้อชาติต่างกันและนับถือศาสนาต่างกัน เป็นคุณสมบัติที่น่าพึงปรารถนาสำหรับผู้ชายมากกว่าผู้หญิง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) 3. การมีสุขภาพดี ซื่อสัตย์และไว้ใจได้ เข้าอกเข้าใจกัน มีทัศนคติ ความเชื่อและค่านิยมคล้ายคลึงกัน มีบุคลิกภาพและลักษณะนิสัยคล้ายคลึงกัน เป็นคนที่ท่านรัก เป็นคนที่รักท่าน และเป็นคนที่ท่านรักเขาและเขารักท่าน เป็นคุณสมบัติที่น่าพึงปรารถนาสำหรับผู้ชายและผู้หญิง แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 4. การที่เคยใช้ชีวิตคู่มาแล้วและมีบุตรแล้ว เป็นคุณสมบัติที่น่าพึงปรารถนาสำหรับบุคคลที่มีอายุมากกว่า มากกว่าบุคคลที่มีอายุน้อยกว่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05, p<.01, p<.001) 5. การมีรายได้น้อยกว่าเป็นคุณสมบัติที่น่าพึงปรารถนา สำหรับผู้ชายในกลุ่มอายุมากกว่า มากกว่าผู้ชายในกลุ่มอายุน้อยกว่า ในขณะที่การมีรายได้น้อยกว่า เป็นคุณสมบัติที่น่าพึงปรารถนาสำหรับผู้หญิงในกลุ่มอายุน้อยกว่า มากกว่าผู้หญิงในกลุ่มอายุมากกว่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05, p<.001) 6. ระดับการศึกษาสูงกว่าเป็นคุณสมบัติที่น่าพึงปรารถนา สำหรับผู้หญิงในกลุ่มอายุน้อยกว่า มากกว่าผู้หญิงในกลุ่มอายุมากกว่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05, p<.001) ในขณะที่ระดับการศึกษาสูงกว่าเป็นคุณสมบัติที่น่าพึงปรารถนา ไม่แตกต่างกันสำหรับผู้ชายที่มีอายุต่างกัน 7. การมีบุตรแล้วเป็นคุณสมบัติที่น่าพึงปรารถนา สำหรับผู้หญิงในกลุ่มอายุมากกว่า มากกว่าผู้หญิงในกลุ่มอายุน้อยกว่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p>.05, p< .01, p < .001) ในขณะที่การมีบุตรแล้วเป็นคุณสมบัติที่น่าพึงปรารถนาไม่แตกต่างกันสำหรับผู้ชายที่มีอายุต่างกัน en
dc.description.abstractalternative To study gender and age differences in mate selection preferences. The instrument was mate selection preference questionnaire. Data were collected from 1,500 single men and women aged between 18-35 years old, who had never been married before and lived in Bangkok area. Results are as follows 1. Women are more willing than men to marry someone with these characteristics: being older, earning more, more educated, more economic resources, high social status, holding a steady job, ambitious and industrious, responsible, emotionally stable, had been married before, having children, willing to invest in children, being accepted by family, having sense of humor, and having sexual experience (p<.001) 2. Men are more willing than women to marry someone with these characteristics: being younger, physically attractive, earning less, less educated (p<.001), and having different race and religion (p<.05) 3.There are no significant differences between men and women preferences for these characteristics: having good health, honest and reliable, understanding, similar attitudes/beliefs/values, similar personality and traits, being the one you love, being the one who loves you, and being the one you love and loves you. 4. Those who are older are more willing to marry someone who had been married before and already had children than those who are younger (p<.05, p<.01, p<.001) 5. Older men are more willing to marry those who earn less than younger men. The opposite is found in women (p<.05, p<.001) 6. Younger women are more willing to marry those with higher education than older women (p<.05, p<.001) whereas there are no significant differences in men of different ages for this characteristic. 7. Older women are more willing to marry those who have already had children than younger women (p<.05, p<.01, p<.001) whereas there are no significant differences in men of different ages for this characteristic en
dc.format.extent 1216536 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject การเลือกคู่ครอง en
dc.subject เพศ en
dc.subject อายุ en
dc.title ความแตกต่างระหว่างเพศและอายุในการเลือกคุณสมบัติของคู่ครอง en
dc.title.alternative Gender and age differences in mate selection preferences en
dc.type Thesis es
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต es
dc.degree.level ปริญญาโท es
dc.degree.discipline จิตวิทยาสังคม es
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.email.advisor kakanang.m@chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record