DSpace Repository

การละเมิดอำนาจปกครองโดยบิดาหรือมารดาฝ่ายที่ไม่มีอำนาจปกครองกับความรับผิดทางอาญา

Show simple item record

dc.contributor.advisor ปารีณา ศรีวนิชย์
dc.contributor.author วรพรรณ นาคทับ
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์
dc.date.accessioned 2016-12-29T10:45:35Z
dc.date.available 2016-12-29T10:45:35Z
dc.date.issued 2556
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51465
dc.description วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556 en_US
dc.description.abstract วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาสภาพปัญหาและขอบเขตของกฎหมายอาญาที่จะนำมาบังคับใช้ในเรื่องการละเมิดอำนาจปกครองโดยบิดาหรือมารดาฝ่ายที่ไม่มีอำนาจปกครอง โดยมีการนำบทบัญญัติของกฎหมายต่างประเทศ เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศอังกฤษ ประเทศฝรั่งเศส และประเทศสิงคโปร์มาศึกษาเปรียบเทียบ เนื่องจากประเทศเหล่านี้มีการบัญญัติให้การละเมิดอำนาจปกครองโดยบิดาหรือมารดาฝ่ายที่ไม่มีอำนาจปกครองเป็นความผิดอาญาโดยเฉพาะ จากการศึกษาวิจัยพบว่า ประเทศไทยมิได้กำหนดให้การละเมิดอำนาจปกครองโดยบิดาหรือมารดาฝ่ายที่ไม่มีอำนาจปกครองเป็นความผิดอาญาโดยเฉพาะ กฎหมายที่มีอยู่ในปัจจุบันไม่ว่าจะเป็นประมวลกฎหมายอาญา หรือกฎหมายเฉพาะที่จะนำมาบังคับใช้กับการละเมิดอำนาจปกครองโดยบิดาหรือมารดาฝ่ายที่ไม่มีอำนาจปกครองนั้นไม่สอดคล้องและไม่เหมาะสมกับสภาวการณ์ที่เกิดขึ้น ดังนั้นผู้เขียนจึงขอเสนอให้มีการกำหนดมาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการละเมิดอำนาจปกครองโดยบิดาหรือมารดาฝ่ายที่ไม่มีอำนาจปกครองให้เป็นความผิดอาญาโดยเฉพาะ ทั้งนี้ผู้เขียนได้เสนอแนะบทบัญญัติทางกฎหมายและวิธีการดำเนินคดีที่จะนำมาใช้ในการแก้ปัญหาการละเมิดอำนาจปกครองโดยบิดาหรือมารดาฝ่ายที่ไม่มีอำนาจปกครองที่สอดคล้องและเหมาะสมกับสภาพสังคมไทย en_US
dc.description.abstractalternative This thesis aims at conceptualizing problems and defining the scope of criminal law governing custodial interference by non-custodial parent. It comparatively studies statutes enacted in the United States of America, the United Kingdom, France, and Singapore in that these statutes explicitly criminalize custodial interference by non-custodial parent The finding of this research reveals that the Thai legal system has not specifically criminalized custodial interference by non-custodial parent. The current regime either the criminal code or any special statutes lacks competence to appropriately govern custodial interference by non-custodial parent Therefore, the author proposes the criminalization of custodial interference of non-custodial parent as the means to solve the problem. In particular, the thesis recommends statute and criminal procedure designed to tackle the problem stemming from custodial interference of non-custodial parent. The outcome of the research will act as the guideline of the criminalization process which is adjusted to suit the unique characteristic of Thai society. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1652
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject บิดามารดาและบุตร en_US
dc.subject การละเมิดอำนาจศาล en_US
dc.subject ละเมิด en_US
dc.subject พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ.2550 en_US
dc.subject พระราชบัญญัติความร่วมมือระหว่างประเทศในทางแพ่งเกี่ยวกับการละเมิดควบคุมดูแล พ.ศ.2555 en_US
dc.subject Parent and child en_US
dc.subject Contempt of court en_US
dc.subject Torts en_US
dc.title การละเมิดอำนาจปกครองโดยบิดาหรือมารดาฝ่ายที่ไม่มีอำนาจปกครองกับความรับผิดทางอาญา en_US
dc.title.alternative Custodial interference by non-custodial parent and criminal liability en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name นิติศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline นิติศาสตร์ en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Pareena.S@Chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2013.1652


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record