dc.contributor.advisor |
เพ็ญพิไล ฤทธาคณานนท์ |
|
dc.contributor.author |
ชาฎิณี เชื้อคำ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา |
|
dc.date.accessioned |
2017-01-27T04:01:43Z |
|
dc.date.available |
2017-01-27T04:01:43Z |
|
dc.date.issued |
2549 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51576 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 |
en_US |
dc.description.abstract |
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อศึกษาความเข้าใจมโนทัศน์ของการมีชีวิตและมโนทัศน์ของความตายในเด็กที่มีสุขภาพปกติ อายุ 5 ปี และ 7 ปี 2. เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างความเข้าใจมโนทัศน์ของการมีชีวิตและมโนทัศน์ของความตายในเด็กที่มีสุขภาพปกติที่มีความแตกต่างกันในด้านอายุ ผลการวิจัย 1. เด็กอายุ 6 ปี และ 7 ปี มีค่าเฉลี่ยของคะแนนมโนทัศน์ของการมีชีวิตมากกว่าเด็กอายุ 5 ปี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่เด็กอายุ 6 ปี และ 7 ปี มีค่าเฉลี่ยของคะแนนมโนทัศน์ของการมีชีวิตไม่แตกต่างกัน 2. เด็กอายุ 6 ปี และ 7 ปี มีค่าเฉลี่ยของคะแนนมโนทัศน์ของความตายมากกว่าเด็กอายุ 5 ปี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่เด็กอายุ 6 ปี และ 7 ปี มีค่าเฉลี่ยของคะแนนมโนทัศน์ของความตายไม่แตกต่างกัน 3. เด็กทั้ง 3 ระดับอายุ มีความเข้าใจองค์ประกอบของความตายด้านการหยุดทำงานของอวัยวะ (Cessation) เด็กอายุ 6 ปี และ 7 ปี มีความเข้าใจองค์ประกอบของความตายด้านความตายเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นกับทุกคน (Inevitability) และเด็กอายุ 7 ปี มีความเข้าใจองค์ประกอบของความตายด้านความตายเป็นสถานะที่ถาวร (Irreversibility) |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The purposes of this thesis were to compare the understanding of the concepts of life and death in five- to- seven- year- old healthy children. Participants were 180 kindergarten and primary school student; 60 students in each age group. The instrument was modified from the study of Slaughter & Lyons (2003). One-way ANOVA was used for statistical analysis. The results are as follows: 1. The six- and the seven- year- old children have significantly higher scores in the concept of life than the five- year- olds (p < .05). However, the six- and the seven- year- old do not differ in their scores in the life concept. 2. The six- and the seven- year- old children have significantly higher scores in the concept of death than the five- year- olds (p < .05). However, the six- and the seven- year- olds do not differ in their scores in the death concept. 3. The children’s understandings of the subcomponents of death are as follows: The- five- six and the seven- year-olds are able to understand cessation, the six- and the seven- year- olds are able to understand inevitability, and the seven- year- old are able to understand irreversibility. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.964 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
ความคิดรวบยอด |
en_US |
dc.subject |
การรู้คิดในเด็ก |
en_US |
dc.subject |
เด็ก -- แง่จิตวิทยา |
en_US |
dc.subject |
จิตวิทยาพัฒนาการ |
en_US |
dc.title |
การเข้าใจมโนทัศน์เกี่ยวกับการมีชีวิตและความตายในเด็กอายุ 5 - 7 ปี ที่มีสุขภาพปกติ |
en_US |
dc.title.alternative |
Understanding life and death concepts in five- to seven-year-old healthy children |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
จิตวิทยาพัฒนาการ |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
penpilai.r@chula.ac.th |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2006.964 |
|