DSpace Repository

In vitro behavior of osteoblast-like cells on titanium surface blasted with Al2O3 and glass beads

Show simple item record

dc.contributor.advisor Mansuang Arksornnukit
dc.contributor.advisor Prasit Pavasant
dc.contributor.author Jiratchaya Panthachai
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Dentistry
dc.date.accessioned 2017-02-06T03:21:05Z
dc.date.available 2017-02-06T03:21:05Z
dc.date.issued 2011
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51657
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2011 en_US
dc.description.abstract Blasting titanium with abrasive particle is the method used to generate surface topography and roughness to improve cellular responses. The behavior of MC3T3-E1 cells was compared on six different titanium surfaces: polished titanium (Ti-polish), titanium blasted with glass beads (SiO₂) particles of 50 or 100 µm in size (50SiO₂-Ti, 100SiO₂-Ti) and titanium blasted with Al₂O₃ particles of 50,100 or 250 µm in size (50Al₂O₃-Ti, 100Al₂O₃-Ti, 250Al₂O₃-Ti). Profilometry showed the comparable roughness values for the surface blasted with the same size particle, (Sa= 0.5340, 0.5288 µm for 50SiO₂-Ti and 50Al₂O₃-Ti) (Sa=0.6323, 0.6343 µm for 100SiO₂-Ti and 100Al₂O₃-Ti). While the 250Al₂O₃-Ti had the highest roughness values (Sa= 1.5168 µm). Both the SiO₂ and Al₂O₃ blasted surfaces were hydrophilic materials but only Al₂O₃ blasted surface could support higher amount of fibrin formation after 5 minutes. In addition, cells seeded on 250Al₂O₃ –Ti showed faster rate of adhesion at 30 min, higher rate of proliferation at day 2, higher expression of collagen type I and osteocalcin at day 7 than the other surfaces. Moreover, increased expression of osteocalcin at day 14 and more alizarin red-S staining at day 14 were observed on Al₂O₃ blasted surfaces compared to the SiO₂ blasted surfaces. However, no significant differences in cell response among the groups, which prepared by different size of Al₂O₃ were detected. The results of this study indicated that Al₂O₃ blasted surface could support the osteoblast adhesion, differentiation and mineralization better than SiO₂.These results suggested that the 250Al₂O₃ –Ti supported the greatest initial adhesion, proliferation and initial gene expression of MC3T3-E1 cells. en_US
dc.description.abstractalternative การพ่นทรายบนผิวไทเทเนียม เป็นวิธีการเตรียมพื้นผิวให้มีลักษณะพื้นผิวและความหยาบ ที่เอื้อต่อการตอบสนองของเซลล์ได้ดีขึ้น การศึกษานี้เปรียบเทียบพฤติกรรมของเซลล์สร้างกระดูกของหนู (เอ็มซีสามทีสาม-อีหนึ่ง) บนผิวไทเทเนียมที่แตกต่างกัน 6 ชนิด คือ ผิวไทเทเนียมขัดเรียบ ผิวที่พ่นด้วยผงทรายแก้วขนาด 50 ไมโครเมตร ผิวที่พ่นด้วยผงทรายแก้วขนาด 100 ไมโครเมตร ผิวที่พ่นด้วยผงอะลูมิเนียมออกไซด์ขนาด 50 ไมโครเมตร ผิวที่พ่นด้วยผงอะลูมิเนียมออกไซด์ขนาด 100 ไมโครเมตร และผิวที่พ่นด้วยผงอะลูมิเนียมออกไซด์ขนาด 250 ไมโครเมตร เครื่องวัดความหยาบผิว แสดงผลความหยาบผิวที่ใกล้เคียงกัน ของพื้นผิวที่ผ่านการพ่นทรายด้วยผงขัดที่มีขนาดเท่ากัน ผิวที่พ่นด้วยผงทรายแก้วขนาด 50 ไมโครเมตรและผิวพ่นด้วยผงอะลูมิเนียมออกไซด์ขนาด 50 ไมโครเมตร มีค่าความหยาบผิว 0.5340 และ 0.5288 ไมโครเมตร ผิวที่พ่นด้วยผงทรายแก้วขนาด 100 ไมโครเมตรและผิวพ่นด้วยผงอะลูมิเนียมออกไซด์ขนาด 100 ไมโครเมตร มีค่าความหยาบผิว 0.6323 และ 0.6343 ไมโครเมตร ขณะที่ผิวที่พ่นด้วยผงอะลูมิเนียมออกไซด์ขนาด 250 ไมโครเมตร มีค่าความหยาบผิวสูงสุดคือ 1.5168 ไมโครเมตรผิวที่ผ่านการพ่นทรายทั้งสองชนิด จัดเป็นผิวที่มีคุณสมบัติชอบน้ำ โดยที่ผิวที่ผ่านการพ่นด้วยผงอะลูมิเนียมออกไซด์ สนับสนุนการสร้างไฟบรินบนผิววัสดุภายหลัง 5 นาที ได้มากกว่าผิวชนิดอื่นๆ นอกจากนี้ เซลล์บนผิวที่พ่นด้วยผงอะลูมิเนียมออกไซด์ขนาด 250 ไมโครเมตร แสดงการยึดเกาะบนผิวภายใน 30 นาทีได้เร็วกว่า มีอัตราการเจริญเติบโตของเซลล์ในวันที่ 2 สูงกว่า สามารถส่งเสริมเพิ่มการแสดงออกของคอลลาเจนชนิดที่หนึ่ง และออสตีโอแคลซินเอ็มอาร์เอ็นเอ ในวันที่ 7 ได้มากกว่าผิวชนิดอื่น การทดลองยังพบว่ากลุ่มผิวที่พ่นด้วยผงขัดอะลูมิเนียมออกไซด์ สามารถส่งเสริมการแสดงออกของออสตีโอแคลซินเอ็มอาร์เอ็นเอ ในวันที่ 14 และการสะสมแร่ธาตุเมื่อย้อมด้วยสีอะลิซาลินในวันที่ 14 ได้ดีกว่ากลุ่มผิวที่ผ่านการพ่นด้วยผงทรายแก้ว อย่างไรก็ตามไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญของการตอบสนองเซลล์ ในกลุ่มผิวที่พ่นด้วยผงขัดอะลูมิเนียมออกไซด์ที่ใช้ขนาดผงแตกต่างกัน การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าผิวที่ผ่านการพ่นด้วยผงอะลูมิเนียมออกไซด์สนับสนุนการยึดเกาะ การแปรสภาพของเซลล์กระดูก และการพอกแร่ธาตุ ได้ดีกว่าผิวที่ใช้ผงทรายแก้วพ่น และผิวที่พ่นด้วยผงอะลูมิเนียมออกไซด์ขนาด 250 ไมโครเมตร สนับสนุนการยึดเกาะ การเจริญเติบโตของเซลล์ การแสดงออกของเอ็มอาร์เอ็นเอของเซลล์เอ็มซีสามทีสาม-อีหนึ่ง ในระยะต้นได้ดีที่สุด en_US
dc.language.iso en en_US
dc.publisher Chulalongkorn University en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.194
dc.rights Chulalongkorn University en_US
dc.subject Titanium -- Surfaces en_US
dc.subject Coating processes en_US
dc.subject ไทเทเนียม -- พื้นผิว
dc.subject กระบวนการเคลือบผิว
dc.title In vitro behavior of osteoblast-like cells on titanium surface blasted with Al2O3 and glass beads en_US
dc.title.alternative พฤติกรรมในห้องปฏิบัติการของเซลล์สร้างกระดูกบนผิวไทเทเนียมที่พ่นด้วยผงอะลูมิเนียมออกไซด์ และทรายแก้ว en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name Master of Science en_US
dc.degree.level Master's Degree en_US
dc.degree.discipline Prosthodontics en_US
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en_US
dc.email.advisor mansuang@yahoo.com
dc.email.advisor prasitpav@hotmail.com
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2011.194


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record