dc.contributor.advisor |
Chollada Buranakari |
|
dc.contributor.advisor |
Sarinee Kalandakanond-Thongsong |
|
dc.contributor.author |
Prapawadee Pirintr |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Veterinary Science |
|
dc.date.accessioned |
2017-02-08T02:19:35Z |
|
dc.date.available |
2017-02-08T02:19:35Z |
|
dc.date.issued |
2011 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51700 |
|
dc.description |
Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2011 |
en_US |
dc.description.abstract |
Cardiac autonomic neuropathy in dogs with diabetes mellitus (DM) were evaluated using time-and frequency-domain parameters of heart rate variability (HRV) as well as the plasma norepinephrine (NE) concentration compared with control healthy non-diabetic dogs. Dogs were divided into 2 groups according to frequency of insulin adjustment, their fasting plasma glucose and plasma fructosamine concentrations: group 1, the control healthy non-DM group (n = 13), group 2, diabetic group (n = 22). The diabetic group was further divided into 2 subgroups, the well-controlled DM (n = 11) and the poorly-controlled DM (n = 11). None of these dogs had heart failure or received any drug that affected HRV or autonomic nervous system. The blood pressures were recorded along with the measurements of complete blood count, blood gas analysis, biochemical profiles and plasma NE concentrations. For HRV, the electrocardiogram (ECG) was recorded continuously for at least 30 minutes at rest. The results showed that the concentrations of fasting blood glucose and serum fructosamine were significantly higher in both DM subgroups compared with control group (p < 0.001). The time-domain parameters, NNA and SDANN in poorly-controlled DM were significantly lower than control group (601.9+28.5 vs 697.4+31.9 ms and 22.40+5.53 vs 50.96+10.74 ms, respectively) ( p < 0.05) while heart rate was significantly higher than control and well-controlled DM (102.7+6.6 vs 88.1+3.9 and 85.7+3.7 bpm, respectively) (p < 0.05). In poorly-controlled DM, the NNA, SDNN, SDNN index and pNN50% were also significantly lower when compared with well-controlled DM (601.9+28.5 vs 711.5+27.1 ms, 118.9 +12.3 vs 178.1+19.0 ms, 115.4+12.2 vs 174.5+18.7 ms and 46.73+6.96 vs 68.23+5.25 ms, respectively) (p < 0.05). The frequency-domain parameters, HF and total power in poorly-controlled DM were significantly lower (7,670+1,829 vs 20,503+6,030 ms2 and 14,694+2591 vs 32,097+7,148 ms2,respectively) (p < 0.05) while the LF/HF was higher (0.54+0.15 vs 0.21+0.04) (p < 0.05) when compared with well-controlled DM. In poorly-controlled DM, systolic, diastolic and mean arterial blood pressures were significantly higher while plasma NE concentrations were significantly lower than control group (210.4+36.7 vs 478.9+74.3 pg/ml) (p <0.05). However, in well-controlled DM group, no significant change was found among all parameters when compared with control group. The plasma NE concentrations had negative correlation with plasma fructosamine concentrations (p < 0.05, r = -0.359). It is concluded that the cardiac autonomic neuropathy occurred only in poorly-controlled DM dogs. The sympathetic activity in this group was suppressed as shown by decrease in both plasma NE concentration and LF component resulting in higher arterial blood pressure and heart rate. |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
ความแปรปรวนในอัตราการเต้นของหัวใจเป็นการวัดการทำงานของระบบประสาทอัตโนวัติทางอ้อมซึ่งมีความน่าเชื่อถือสูง สามารถใช้ตรวจความผิดปกติจากภาวะเส้นประสาทอัตโนวัติที่ความคุมการทำงานของหัวใจเสื่อมในระยะที่ยังไม่แสดงอาการทางคลินิก การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความผิดปกติจากภาวะเส้นประสาทอัตโนวัติที่ควบคุมการทำงานของหัวใจเสื่อมจากโรคเบาหวานโดยการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงค่าความแปรปรวนในอัตราการเต้นของหัวใจแบบการวิเคราะห์ช่วงเวลาและการวิเคราะห์ช่วงความถี่ และหาความสัมพันธ์ระหว่างค่าความแปรปรวนในอัตราการเต้นของหัวใจกับความดันโลหิตและระดับนอร์อิปิเนฟรินในพลาสมาของสุนัขที่เป็นโรคเบาหวานเทียบกับสุนัขปกติ แบ่งสุนัขเป็น 2 กลุ่มตามความถี่ในการปรับขนาดอินซูลิน ระดับกลูโคสในพลาสมาหลังการอดอาหารอย่างน้อย 8 ชั่วโมงและค่าระดับฟรุคโตซามีนในพลาสมา โดยแบ่งเป็น 1) สุนัขสุขภาพดีจำนวน 13 ตัว 2) สุนัขที่เป็นโรคเบาหวาน โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่มย่อยคือ กลุ่มสุนัขเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีจำนวน 11 ตัว และ สุนัขเบาหวานที่ควบคุมระดับได้ไม่ดีจำนวน 11 ตัว ซึ่งสุนัขทุกตัวไม่มีประวัติเป็นโรคหัวใจและไม่ได้รับยากลุ่ม α หรือ β blockers ที่จะส่งผลต่อค่าความแปรปรวนในอัตราการเต้นของหัวใจ ทำการวัดความดันโลหิตวัดทางอ้อมโดยวิธีออสซิโลเมตริก เก็บตัวอย่างเลือดไปวิเคราะห์ค่าทางโลหิตวิทยา ค่าก๊าซในเลือด ค่าเคมีในเลือด ระดับความเข้มข้นของน้ำตาล ระดับฟรุคโตซามีนและระดับนอร์อิปิเนฟรินในพลาสมา ข้อมูลในการวิเคราะห์ความแปรปรวนในอัตราการเต้นของหัวใจได้จากการบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจต่อเนื่อง 30 นาทีและนำมาวิเคราะห์ช่วงเวลาและช่วงความถี่ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป ผลการศึกษาพบว่า สุนัขเบาหวานทั้ง 2 กลุ่มมีระดับความเข้มข้นของน้ำตาลในเลือดหลังการอดอาหารและระดับฟรุคโตซามีนสูงกว่ากลุ่มสุนัขสุขภาพดีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< 0.001) ค่าความแปรปรวนในอัตราการเต้นของหัวใจแบบการวิเคราะห์ช่วงเวลา ในสุนัขเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ไม่ดีมีค่า NNA และ SDANN ต่ำกว่าสุนัขสุขภาพดีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (601.9+28.5 กับ 697.4+31.9 ms และ 22.40+5.53 กับ 50.96+10.74 ms ตามลำดับ) (p< 0.05)และมีค่าอัตราการเต้นของหัวใจสูงกว่าสุนัขสุขภาพดีและกลุ่มสุนัขเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (102.7+6.6 กับ 88.1+3.9 และ 85.7+3.7 bpm ตามลำดับ) (p< 0.05) พบว่าสุนัขเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ไม่ดีมีค่า NNA, SDNN, SDNN index และ pNN50% ต่ำกว่าสุนัขเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (601.9+28.5 กับ 711.5+27.1 ms, 118.9 +12.3 กับ 178.1+19.0 ms, 115.4+12.2 กับ 174.5+18.7 ms และ 46.73+6.96 กับ 68.23+5.25 ms ตามลำดับ) (p < 0.05) ค่าความแปรปรวนในอัตราการเต้นของหัวใจแบบการวิเคราะห์ช่วงความถี่ในสุนัขกลุ่มเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ไม่ดีมีค่า HF และ Total power ต่ำและมีค่าอัตราส่วนระหว่าง LF ต่อ HF สูงกว่าสุนัขเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (7,670+1,829 กับ 20,503+6,030 ms2, 14,694 +2,591 กับ 32,097+7,148 ms2 และ 0.54+0.15 กับ 0.21+0.04 ตามลำดับ) (p < 0.05) ในสุนัขเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ไม่ดีมีค่าความดันซิสโตลิก ไดแอสโตลิก และค่าความดันเลือดแดงเฉลี่ยสูงกว่าสุนัขสุขภาพดีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< 0.05) และยังพบว่าระดับนอร์อิปิเนฟรินในพลาสมาในสุนัขเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ไม่ดีมีค่าต่ำกว่ากลุ่มสุขภาพดีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< 0.05) (210.4+36.7 กับ 478.9+74.3 pg/ml) ไม่พบความแตกต่างระหว่างความดันโลหิต ค่าความแปรปรวนในอัตราการเต้นของหัวใจ และระดับนอร์อิปิเนฟรินในพลาสมาในสุนัขเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีกับกลุ่มสุนัขสุขภาพดี เมื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์ทางสถิติเพื่อศึกษาความสัมพันธ์พบว่าระดับนอร์อิปิเนฟรินในพลาสมามีค่าสหสัมพันธ์เชิงลบกับระดับฟรุคโตซามีนในพลาสมา (p< 0.05, r = -0.359) จากการศึกษานี้สรุปได้ว่าสุนัขโรคเบาหวานกลุ่มที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ไม่ดีมีแนวโน้มในการเกิดภาวะเส้นประสาทอัตโนวัติที่ควบคุมการทำงานของหัวใจเสื่อม |
en_US |
dc.language.iso |
en |
en_US |
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.207 |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.subject |
Dogs |
en_US |
dc.subject |
Diabetes |
en_US |
dc.subject |
Heart -- Diseases |
en_US |
dc.subject |
สุนัข |
en_US |
dc.subject |
เบาหวาน |
en_US |
dc.subject |
หัวใจ -- โรค |
en_US |
dc.title |
Heart Rate Variability and Plasma Norepinephrine Concentration in Diabetic Dogs at Rest |
en_US |
dc.title.alternative |
ความแปรปรวนในอัตราการเต้นของหัวใจและระดับนอร์อิปิเนฟรินในพลาสมาของสุนัขที่เป็นโรคเบาหวานในขณะพัก |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
Master of Science |
en_US |
dc.degree.level |
Master's Degree |
en_US |
dc.degree.discipline |
Animal Physiology |
en_US |
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.email.advisor |
Chollada.B@Chula.ac.th |
|
dc.email.advisor |
Sarinee.Ka@Chula.ac.th |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2011.207 |
|