DSpace Repository

Study of line-1 methylation levels in salivary mucoepidernoid carcinoma

Show simple item record

dc.contributor.advisor Keskanya Subbalekha
dc.contributor.advisor Apiwat Mutirangura
dc.contributor.advisor Nakarin Kitkumthorn
dc.contributor.author Porntipa Sirivanichsuntorn
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Dentistry
dc.date.accessioned 2017-02-08T03:19:15Z
dc.date.available 2017-02-08T03:19:15Z
dc.date.issued 2011
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51704
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2011 en_US
dc.description.abstract Mucoepidermoid carcinoma (MEC), malignancy of salivary gland, can be classified into low-, intermediate-, and high-grade tumors based on its histological features. The proportion of cellular components or the presence of a cystic component, neural invasion, necrosis, mitotic activity and anaplasia are used. However, none of the system has not been universally accepted. Methylation levels of long interspersed nuclear element-1 (LINE-1) and Alu elements reduce in cancerous tissue and relate to the severity of some cancers. However, there has been no study of LINE-1 and Alu methylation in MEC tissues. This study investigated LINE-1 and Alu element methylation in MEC by using combined bisulfite restriction analysis. MEC tissue showed a significantly lower level of LINE-1 and Alu element methylation overall compared to the normal salivary gland tissue. These levels were also significantly different between cell types and showed a stepwise decrease from the adjacent normal salivary gland to the intermediate, mucous and squamous cells. In addition, the percentage of hypermethylation pattern of LINE-1 and hypomethylation pattern of Alu were significantly difference between MEC and normal salivary gland tissue. Moreover, the reduced methylation levels of LINE-1 were correlated with poorer histological grades. The results suggested that the proportion of cells may be important for MEC classification. LINE-1 and Alu elememt methylation levels and patterns may be useful for accurate MEC diagnosis and prognostic prediction, which can improve survival rates and quality of life of patients. en_US
dc.description.abstractalternative มะเร็งต่อมน้ำลายชนิดมิวโคเอ็พพิเดอร์มอยด์คาร์ซิโนมา (mucoepidermoid carcinoma) ได้รับการจำแนกความรุนแรงตามลักษณะทางจุลพยาธิวิทยาโดยใช้สัดส่วนของเซลล์ที่เป็นองค์ประกอบหลัก ในรอยโรค หรือการมีถุงน้ำในรอยโรค การรุกรานเส้นประสาท การตายเฉพาะส่วน ลักษณะการแบ่งตัว และความผิดปกติในการแบ่งตัวของเซลล์ อย่างไรก็ตามเกณฑ์ที่ใช้ในการจำแนกความรุนแรงของโรคในปัจจุบันยังมีความหลากหลายและไม่มีเกณฑ์ใดเป็นที่ยอมรับโดยสากล เมทิเลชัน (methylation) ของไลน์- 1 (LINE-1) และอลู (Alu element) มีระดับที่ต่ำลงในเนื้อเยื่อที่เป็นมะเร็ง และมีความสัมพันธ์กับระดับความรุนแรงของมะเร็งบางประเภท แต่ยังไม่มีผู้ใดศึกษาเมทิเลชันของไลน์-1และอลูในมะเร็งชนิดนี้ ดังนั้นการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับ (level) และรูปแบบ (pattern) ต่างๆของเมทิเลชันของไลน์-1และอลูในมะเร็งต่อมน้ำลายชนิดมิวโคเอ็พพิเดอร์มอยด์คาร์ซิโนมา โดยใช้วิธีการ combine bisulfite restriction analysis จากการศึกษาพบว่ามะเร็งต่อมน้ำลายชนิดมิวโคเอ็พพิเดอร์มอยด์คาร์ซิโนมา มีระดับเมทิเลชัน ของไลน์-1และอลูต่ำกว่าต่อมน้ำลายปกติอย่างมีนัยสำคัญ เมื่อเปรียบเทียบระดับเมทิเลชัน ของไลน์-1 และอลูระหว่างเซลล์ที่เป็นองค์ประกอบหลักในรอยโรครวมไปถึงเซลล์ต่อมน้ำลายปกติข้างเคียง พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ โดยระดับเมทิเลชันของไลน์-1และอลูค่อยๆลดต่ำลงจากเซลล์ต่อมน้ำลายปกติที่อยู่ข้างเคียงรอยโรค, เซลล์อินเทอร์มีเดียท, เซลล์มิวคัส และเซลล์สความัส ตามลำดับ นอกจากนี้รูปแบบของไลน์-1ที่มีเมทิเลชันสูงกว่าปกติและรูปแบบของอลูที่มีเมทิเลชันต่ำกว่าปกติยังมีความแตกต่างกันในเนื้อเยื่อมะเร็งต่อมน้ำลายชนิดมิวโคเอ็พพิเดอร์มอยด์คาร์ซิโนมาและเนื้อเยื่อต่อมน้ำลายปกติ นอกจากนี้ยังพบว่าระดับเมทิเลชันของไลน์-1มีความสัมพันธ์กับระดับความรุนแรงของโรค ดังนั้นสัดส่วนของเซลล์ที่เป็นองค์ประกอบหลักในรอยโรค อาจเป็นเกณฑ์ที่สำคัญประการหนึ่งในการใช้จำแนกระดับความรุนแรงของโรค ระดับและรูปแบบของเมทิเลชันของไลน์-1และอลูน่าจะมีบทบาทในการวินิจฉัยและการพยากรณ์โรคให้มีความถูกต้องและแม่นยำยิ่งขึ้น ซึ่งจะช่วยเพิ่มอัตราการรอดชีวิตและเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยได้ en_US
dc.language.iso en en_US
dc.publisher Chulalongkorn University en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.208
dc.rights Chulalongkorn University en_US
dc.subject Cancer en_US
dc.subject Lymph nodes en_US
dc.subject Cytodiagnosis en_US
dc.subject มะเร็ง en_US
dc.subject ต่อมน้ำเหลือง en_US
dc.subject การวินิจฉัยโรคจากเซลล์ en_US
dc.title Study of line-1 methylation levels in salivary mucoepidernoid carcinoma en_US
dc.title.alternative การศึกษาระดับเมทิเลซันของไลน์-1 ในมะเร็งต่อมน้ำลายชนิดมิวโคเอ็พพิเตอร์มอยด์คาร์ซิโนมา en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name Master of Science en_US
dc.degree.level Master's Degree en_US
dc.degree.discipline Oral and Maxillofacial Surgery en_US
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en_US
dc.email.advisor No information provided
dc.email.advisor Apiwat.M@Chula.ac.th
dc.email.advisor nakarinkit@gmail.com
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2011.208


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record