DSpace Repository

The validation of measurement of body fat by bioelectrical impedance method compared with underwater weighing method

Show simple item record

dc.contributor.advisor Montchai Chalaprawatt
dc.contributor.advisor Charnvit Kotheeranurak
dc.contributor.author Charintip Khongsakpornchai
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Graduate School
dc.date.accessioned 2007-12-27T06:24:56Z
dc.date.available 2007-12-27T06:24:56Z
dc.date.issued 1999
dc.identifier.isbn 9743329641
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5173
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 1999 en
dc.description.abstract This study examined the validity of bioelectrical impedance analysis (BIA) for estimating fat mass (FM) and percent body fat (%BF). Thirty-three healthy Thai people (19 males and 14 females) ranging in age from 19 to 41 yr participated in this study. The reference method was underwater weighing (UW) at residual lung volume. Body density was converted to percent body fat using Siri equation. %BFHW used to calculated reference fat mass. FMBIA and %BFBIA were measured using a Bodystat 1500 bioelectrical impedance analyzer. The cross-validation statistical analysis included examination of the constant error (CE), standard error of estimate (SEE), r, and total error (TE). There were significant correlations of FM and %BF between HW and BIA (0.56-0.77 and 0.61-0.85, respectively; p<0.05). The BIA resulted in high CE values, indicating that BIA estimates significantly underestimated both FM and %BF (3.48-4.22 and 6.71-6.91, respectively; p<0.005). In addition, the prediction errors (SEE and TE) estimated by BIA were also high values (SEE = 2.07-3.31 of FM, SEE = 3.84-5.23 of %BF, TE = 4.02-5.32 of FM, and TE = 7.68-8.63 of %BF). For individual, the %BFBIA within +_ 4% BF was 30% of the subjects. In conclusion, BIA technique does not accurately estimate body composition in healthy Thai populations when BIA manufacturer's equation are used. en
dc.description.abstractalternative การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเชื่อถือได้ของวิธีไบโออิเลคทริคอลอิมพิด๊านซ์ในการวัดมวลไขมันและร้อยละของไขมันในร่างกายเปรียบเทียบกับวิธีมาตรฐานคือ วิธีการชั่งน้ำหนักใต้น้ำ ได้ทำการศึกษาในคนไทยที่มีสุขภาพดี 33 คน (ชาย 19 คน และหญิง 14 คน) มีอายุระหว่าง 19-41 ปี ร้อยละของไขมันในร่างกายสามารถคำนวณได้จากความหนาแน่นร่างกายที่ได้วิธีการชั่งน้ำหนักใต้น้ำโดยใช้สมการชองซีรี และคำนวณเป็นค่ามวลไขมันอ้างอิง ค่ามวลไขมันและร้อยละของไขมันในร่างกาย โดยวิธีไบโออิเลคทริคอลอิมพิด๊านซ์วัดได้จากเครื่องไบโออิเลคทริคอลอิมพิด๊านซ์ยี่ห้อ Bodystat 1500 นำข้อมูลที่ได้จากการวิจัยมาวิเคราะห์ผลทางสถิติโดยการคำนวณค่าความคลาดเคลื่อนคงที่ (constant error; CE), ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการประมาณ (standard error of estimate; SEE), ค่าสหสัมพันธ์ (r) และค่าความคลาดเคลื่อนทั้งหมด (total error; TE) จากการทดลองพบว่า ค่ามวลไขมันและร้อยละของไขมันในร่างกายที่วัดได้จากได้วิธีการชั่งน้ำหนักใต้และวิธีไบโออิเลคทริคอลอิมพิด๊านซ์มีสหสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ค่าความคลาดเคลื่อนคงที่คำนวณได้มีค่าสูงบ่งชี้ว่าวิธีไบโออิเลคทริคอลอิมพิด๊านซ์วัดค่ามวลไขมันและร้อยละของไขมันในร่างกายต่ำกว่าวิธีการชั่งน้ำหนักใต้น้ำอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.005) นอกจากนี้ค่าความคลาดเคลื่อนในการทำนาย (ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการประมาณและค่าความคลาดเคลื่อนทั้งหมด) ที่คำนวณได้มีค่าสูงเช่นกัน ค่าร้อยละของไขมันในร่างกายในแต่ละบุคคลที่วัดได้จากวิธีไบโออิเลคทริคอลอิมพิด๊านซ์ที่ความคลาดเคลื่อนร้อยละ 4 มีค่าเท่ากับร้อยละ 30 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด สรุปผลการวิจัยพบว่า วิธีไบโออิเลคทริคอลอิมพิด๊านซ์ไม่สามารถวัดหรือประมาณองค์ประกอบร่างกายได้อย่างถูกต้องในคนไทยที่มีสุขภาพดีเมื่อใช้สมการของเครื่องไบโออิเลคทริคอลอิมพิด๊านซ์ในการวัด en
dc.format.extent 6187271 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso en es
dc.publisher Chulalongkorn University en
dc.rights Chulalongkorn University en
dc.subject Body weight en
dc.subject Hydrostatics en
dc.subject Impedance, Bioelectric en
dc.title The validation of measurement of body fat by bioelectrical impedance method compared with underwater weighing method en
dc.title.alternative ความน่าเชื่อถือได้ของการวัดมวลไขมันในร่างกายโดยวิธีไบโออิเล็คทริคอลอิมพิด๊านซ์เปรียบเทียบกับวิธีการชั่งน้ำหนักใต้น้ำ en
dc.type Thesis es
dc.degree.name Master of Science es
dc.degree.level Master's Degree es
dc.degree.discipline Sports Medicine es
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en
dc.email.advisor Montchai.C@Chula.ac.th
dc.email.advisor No information provided


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record