DSpace Repository

Isolation and characterization of 4-chloroaniline-degrading bacteria

Show simple item record

dc.contributor.advisor Alisa Vangnai
dc.contributor.author Wansiri Petchkroh
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Graduate School
dc.date.accessioned 2017-02-12T04:08:56Z
dc.date.available 2017-02-12T04:08:56Z
dc.date.issued 2006
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51772
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2006 en_US
dc.description.abstract Chloroanilines have been widely used in several industries such as insecticides and herbicides etc. It is also accumulated in the environment owing to the microbial degradation of various types of chemical substances, namely, herbicides, phenyl urea, acylanilide, and phenylcarbamate. Three bacterial strains enabled to degrade 4CA were isolated from Thailand agricultural soil. they were identified based on the basis of morphology, biochemical characteristics and comparison of 16S rDNA sequence. These strains wer Acinetobacter baumannii, Pseudomonas putida, and Klebsiella pneumoniae. These bacteria showed the highest degradation rate and exhibited the percentage of 4-chloroaniline biodegradation were 61.00%±1.68, 59.82%±1.68, 59.82%±0.71, and 62.82%±3.87, respectively at 25 ppm (0.2 mM) of 4-chloroaniline which incubated for 12 days at 30℃. Furthermore, the dechlorination was monitored for the 4-chloroaniline degradation. Acinetobacter baumannii, Pseudomonas putida, and Klebsiella pneumoniae showed high chlorocatechol 1, 2 dioxygenase activity and fair activity of catechol 1,2 dioxegenase. Thesefore, the biodegradation of 4-chloroaniline by these three isolates was occured via the modified ortho-pathway. Moreover, the additional carbon or/and nitrogen source to enhance 4-chloroaniline degradation are, for Acinetobacter baumannii: 4mM citrate, 4mM NH₄Cl and 4mM citrate + 4mM NH₄Cl; for Pseudomonas putida: 4mM citrate and 4mM succinate, for Klebsiella pneumoniae: 1mM aniline and 2mM aniline. Furthermore, all isolates could degrade aniline, 2-chloroaniline, 3-chloroaniline but not degrade 3,4-dichloroaniline. en_US
dc.description.abstractalternative สารในกลุ่มคลอโรอะนีลีนมีการใช้กันอย่างแพร่หลายในอุตสาหกรรมหลายประเภท เช่น ยาฆ่าแมลงและยากำจัดศัตรูพืช เป็นต้น ซึ่งแบคทีเรียมีความสามารถในการย่อยสลายดังกล่าวทำให้เกิดการสะสมของสารในกลุ่มฟีนิลยูเรีย เอซิลแอนิไลด์ และฟีนิลคาร์บาเมทซึ่งมีความเป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม จึงทำการคัดเลือกแบคทีเรียในดินจากพื้นที่เกษตรกรรมของประเทศไทยที่สามารถย่อยสลาย 4-คลอโรอะนีลีนได้ 3 สายพันธุ์ และจากการศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา คุณสมบัติทางชีวเคมี และการเปรียบเทียบลำดับ 16S rDNA จำแนกได้เป็น Acinetobacter baumannii, Pseudomonas putida และ Klebsiella pneumoniae โดยผลของ dechlorination เป็นตัวบ่งบอกถึงอัตราการย่อยสลายของ 4-คลอโรอะนีลีน จากการศึกษาความเข้มข้นที่เหมาะสมของ 4-คลอดรอะนีลีนพบว่าที่ 25 พีพีเอ็ม (0.2 มิลลิโมลาร์) เป็นความเข้มข้นที่เชื้อสามารถเจริญและย่อยสลาย 4-คลอโรอะนีลีนได้ดีที่สุดในเวลา 12 วันที่ 30 องศาเซลเซียส แต่ที่ความเข้มข้น 200 พีพีเอ็มเชื้อไม่สามารถเจริญและย่อยสลาย 4-คลอโรอะนีลีนได้ เมื่อเลี้ยง Acinetobacter baumannii, Pseudomonas putida และ Klebsiella pneumoniae ในสภาวะที่มีความเข้มข้นของ 4-คลอโรอะนีลีน 25 พีพีเอ็ม ที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 12 วัน พบว่ามีอัตราการย่อยสลายเท่ากับ 61.00%±1.68 59.85%±0.71 และ 62.82%±3.87 ตามลำดับ ในแบคทีเรียทั้ง 3 ชนิดสามารถตรวจพบแอคติวิตีสูงของเอนไซม์ chlorocatechol 1,2 dioxyenase ในขณะที่มีแอคติวิตี้ของ catechol 1,2 dioxegenase บ้างดังนั้นพบว่าเชื้อ Acinetobacter baumannii, Pseudomonas putida และ Klebsiella pneumoniae มีการย่อยสลายสาร 4-คลอโรอะนีลีนผ่านวิถี modified orthopathway นอกจากนี้แหล่งคาร์บอนหรือและไนโตรเจนที่เหมาะสมสำหรับการย่อยสลาย 4-คลอโรอะนีลีน สำหรับเชื้อ Acinetobacter baumannii คือที่ซิเตรทความเข้มข้นที่ 4 มิลลิโมลาร์, แอมโมเนียมคลอไรด์ ความเข้มข้นที่ 4 มิลลิโมลาร์ และซิเตรทความเข้มข้นที่ 4 มิลลิโมลาร์ผสม แอมโมเนียมคลอไรด์ความเข้มข้นที่ 4 มิลลิโมลาร์, สำหรับเชื้อ Pseudomonas putida คือที่ซิเตรทความเข้มข้นที่ 4 มิลลิโมลาร์และซักซิเนทความเข้มข้นที่ 4 มิลลิโมลาร์, สำหรับเชื้อ Klebsiella pneumoniae คือที่ความเข้มข้นที่ 1 มิลลิโมลาร์อะนีลีน, ความเข้มข้นที่ 2 มิลลิโมลาร์อะนีลีน, นอกจากนี้ แบคทีเรียทั้ง 3 ชนิด สามารถย่อยสลายอะนีลีน, 2-คลอโรอะนีลีน, 3-คลอโรอะนีลีน, แต่ไม่สามารถย่อยสลาย 3,4-ไดคลอโรอะนีลีนได้ en_US
dc.language.iso en en_US
dc.publisher Chulalongkorn University en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.2091
dc.rights Chulalongkorn University en_US
dc.subject 4-Chloroaniline en_US
dc.subject Bacteria -- Separation en_US
dc.subject Biodegradation en_US
dc.subject Soil remediation en_US
dc.subject 4-คลอโรอะนีลีน en_US
dc.subject แบคทีเรีย -- การแยก en_US
dc.subject การย่อยสลายทางชีวภาพ en_US
dc.subject การกำจัดสารปนเปื้อนในดิน en_US
dc.title Isolation and characterization of 4-chloroaniline-degrading bacteria en_US
dc.title.alternative การแยกแบคทีเรียและการศึกษาลักษณะสมบัติในการย่อยสลาย 4-คลอโรอะนีลีน en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name Master of Science en_US
dc.degree.level Master's Degree en_US
dc.degree.discipline Environmental Management (Inter-Department) en_US
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en_US
dc.email.author alisa.v@chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2006.2091


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record