DSpace Repository

Fabric and fiber modification using radio frequency plasma process

Show simple item record

dc.contributor.advisor Boonchoat Paosawatyanyong
dc.contributor.advisor Satreerat Hodak
dc.contributor.author Thidarat Supasai
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Science
dc.date.accessioned 2017-02-17T01:49:12Z
dc.date.available 2017-02-17T01:49:12Z
dc.date.issued 2006
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51927
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2006 en_US
dc.description.abstract This thesis focuses on the hydrophobicity improvement of fabrics which included polyethylene terepthalate, Thai silk, mixed Thai silk and cotton using radio frequency inductively coupled SF₆ plasma. All treated fabrics show significant improvement in hydrophobicity. Compared with untreated fabrics, contact angle of treated fabrics increases about three times and absorption time increases from 0-30 minutes to the maximum observation time limit of 210 minutes. The change in surface morphology was observed by scanning electron microscopy and atomic force microscopy. The average roughness increased from 3-28 nm to 23-45 nm, depending on type of fabrics. The changes in chemical compositions on fabric were invertigated by X-ray photoelectron spectroscopy (XPS). The XPS results show the participation of fluorine-containing groups (CF, CF₂, CF₃) in fabric surface as well as the increase of total fluorine content after SF plasma treatment. The fluorine content were related to the absorption time. We found that the main reason for the improvement of hydrophobicity properties of fabrics should due to the incorporation of fluorine atoms rather than the increase of surface roughness. In this study, the increase of surface roughness was found to be in the order of nanometer range which is very small compared to the size of water droplet used in the experiment. In our RF-ICP system, the optimum operating plasma condition is obtained at pressure of 0.5 Torr and RF power of 50 watts. en_US
dc.description.abstractalternative วิทยานิพนธ์นี้ศึกษาเกี่ยวกับการปรับปรุงสมบัติการไม่ซึมน้ำของผ้าซึ่งประกอบด้วยผ้าโพลีเอทธีลีนเทเรฟธอลเลต, ผ้าไหมไทย, ผ้าไหมไทยผสม และผ้าฝ้าย โดยใช้พลาสมาของแก๊สซัลเฟอร์เฮกซะฟลูออไรด์ ผ้าที่ผ่านการปรับปรุงสมบัติด้วยพลาสมาจะถูกวิเคราะห์เชิงกายภาพโดยใช้การวัดมุมสัมผัสของหยดน้ำและการจับเวลาที่ผ้าใช้ในการดูดซับน้ำ จากผลการทดลองพบว่า ค่ามุมสัมผัสของหยดน้ำสำหรับผ้าที่ผ่านการปรับปรุงสมบัติจะมีค่าเพิ่มขึ้นประมาณสามเท่าเมื่อเทียบกับผ้าที่ไม่ผ่านการปรับปรุงสมบัติ และเวลาที่ผ้าใช้ในการดูดซับน้ำ เพิ่มขึ้นจาก 0-30 นาที เป็น 210 นาที ซึ่งเป็นค่าเวลาสูงสุดที่ตั้งไว้สำหรับการทดลอง การเปลี่ยนแปลงลักษณะพื้นผิวของผ้า จะถูกวิเคราะห์โดยใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด และกล้องจุลทรรศน์แบบแรงอะตอม พบว่า พื้นผิวของผ้าที่ผ่านการปรับปรุงสมบัติมีค่าเฉลี่ยของความขรุขระเพิ่มขึ้นจาก 3-28 นาโนเมตร ไปสู่ 23-45 นาโนเมตรขึ้นอยู่กับชนิดของผ้า นอกจากนี้แล้วได้ใช้เทคนิคเอ็กซเรย์โฟโตอิเล็กตรอนสเปกโทรสโกปีศึกษาส่วนประกอบทางเคมีบนพื้นผิวผ้า ผลการวัดเอ็กซเรย์โฟโตอิเล็กตรอนสเปกโทรสโกปีพบกลุ่มของ CF, CF₂, CF₃ บนพื้นผิวผ้า และปริมาณของฟลูออรีนเพิ่มขึ้นหลังจากปรับปรุงสมบัติด้วยพลาสมา ปริมาณของฟลูออรีนที่เพิ่มขึ้นนี้สัมพันธ์กับเวลาที่ผ้าใช้ในการดูดซับน้ำ ผู้วิจัยพบว่า สาเหตุที่สำคัญซึ่งทำให้ผ้ามีสมบัติการไม่ซึมน้ำเพิ่มขึ้นคือ การมีฟลูออรีนบนพื้นผิวผ้า ไม่ได้เกิดจากความขรุขระที่เพิ่มในระดับนาโนเมตร เนื่องจากความขรุขระที่เพิ่มขึ้นนี้มีขนาดเล็กมากเมื่อเทียบกับขนาดของหยดน้ำที่ใช้ทำการทดลองเงื่อนไขที่เหมาะสมสำหรับการปรับปรุงสมบัติการไม่ซึมน้ำในงานวิจัยนี้อยู่ที่ความดัน 0.5 ทอร์ และกำลังคลื่นวิทยุ 50 วัตต์ en_US
dc.language.iso en
dc.publisher Chulalongkorn University en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.2105
dc.rights Chulalongkorn University en_US
dc.subject สิ่งทอ en_US
dc.subject ผ้า en_US
dc.subject พลาสมา en_US
dc.subject คลื่นความถี่วิทยุ en_US
dc.subject Textile fabrics en_US
dc.subject Fibers en_US
dc.subject Blood plasma en_US
dc.subject Radio frequency en_US
dc.title Fabric and fiber modification using radio frequency plasma process en_US
dc.title.alternative การดัดแปรสิ่งทอและเส้นใยโดยกระบวนการพลาสมาความถี่วิทยุ en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name Master of Science en_US
dc.degree.level Master's Degree en_US
dc.degree.discipline Physics en_US
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en_US
dc.email.advisor paosawat@sc.chula.ac.th
dc.email.advisor satreerat.h@chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2006.2105


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record