DSpace Repository

Avoidance of the use of English participial reduced relative clauses among L1 Thai learners

Show simple item record

dc.contributor.advisor Nattama Pongpairoj
dc.contributor.author Supakit Thiamtawan
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Arts
dc.date.accessioned 2017-02-18T10:41:12Z
dc.date.available 2017-02-18T10:41:12Z
dc.date.issued 2013
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51974
dc.description Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2013 en_US
dc.description.abstract The research examined avoidance behavior, i.e. a phenomenon where L2 learners avoid producing either an L2 structure which is non-existent in their L1 or a TL form differing from the L1 equivalent (Richards, Platt, & Platt, 2002). By semi-replicating Klienmann’s (1978) tests, the study aimed to determine whether L1 Thai learners would avoid producing the English participial reduced relative clause structure (PRRC). It was hypothesized that L1 Thai learners tended to avoid using the PRRC structure as a result of differences between their L1 and the L2. The research participants were twenty Thai undergraduate students. The research instruments consisted of a comprehension test, i.e. a test ensuring the subjects’ knowledge of the PRRC structure, and two indirect preference assessment tasks. Two tasks, a cloze test and a Thai-English translation test, were employed to investigate the participants’ preference between PRRCs and relative clauses (RCs). Results showed that the L1 Thai subjects tended not to avoid the PRRC structure. It is assumed that three possible factors were involved: the L2 learners’ familiarity with the PRRC structure, simplicity of the participial reduced relative clause, and the nature of the tasks. The Factors of L2 Non-Avoidance Hypothesis (FNAH) was proposed to account for the participants’ tendency of L2 non-avoidance. The essence of the FNAH is that L2 learners do not always avoid using an L2 structure which is non-existent in their L1 or a TL feature which is different from the L1 equivalent. Other factors have to be taken into consideration. en_US
dc.description.abstractalternative งานวิจัยนี้สำรวจพฤติกรรมการเลี่ยง อันเป็นปรากฏการณ์ที่ผู้เรียนภาษาที่สองเลี่ยงใช้โครงสร้างในภาษาที่สองที่ไม่ปรากฏในภาษาที่หนึ่ง หรือโครงสร้างในภาษาที่สองที่แตกต่างจากโครงสร้างเทียบเคียงในภาษาที่หนึ่ง (Richards, Platt, & Platt, 2002) งานวิจัยนี้ดัดแปลงแบบทดสอบของไคลน์มานน์ (Klienmann, 1978) โดยมุ่งศึกษาพฤติกรรมการเลี่ยงโครงสร้างคุณานุประโยคลดรูปประเภทใช้รูปกริยาขยาย (Participial Reduced Relative Clause) ในภาษาอังกฤษของผู้เรียนที่ใช้ภาษาไทยเป็นภาษาที่หนึ่ง สมมติฐานของงานวิจัยนี้คือ ผู้เรียนภาษาที่สองที่มีภาษาไทยเป็นภาษาที่หนึ่งมีแนวโน้มเลี่ยงการใช้คุณานุประโยคลดรูปประเภทใช้รูปกริยาขยายเนื่องจากความแตกต่างระหว่างภาษาไทยกับภาษาอังกฤษ ผู้เข้าร่วมงานวิจัยนี้เป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรีชาวไทยจำนวน 20 คน เครื่องมือวิจัยประกอบด้วย แบบทดสอบความเข้าใจเพื่อยืนยันว่า ผู้เข้าร่วมงานวิจัยมีความรู้ความเข้าใจในโครงสร้างดังกล่าว และแบบทดสอบประเมินความพึงใจทางอ้อมเพื่อศึกษาความพึงใจระหว่างคุณานุประโยคประเภทลดรูปกับประเภทไม่ลดรูป แบบทดสอบประเมินความพึงใจทางอ้อม ประกอบด้วยแบบทดสอบประเภทเติมคำในช่องว่าง และแบบทดสอบแปลภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ ผลการวิจัยพบว่า ผู้เข้าร่วมงานวิจัยมีแนวโน้มใช้โครงสร้างดังกล่าว ผู้วิจัยสันนิษฐานว่า ผู้เข้าร่วมงานวิจัยใช้คุณานุประโยคลดรูปประเภทใช้รูปกริยาขยาย เนื่องจากปัจจัย 3 ประการ ได้แก่ ความคุ้นเคยที่ผู้เข้าร่วมงานวิจัยมีต่อโครงสร้างดังกล่าว ความที่โครงสร้างนี้ง่ายต่อการใช้ และลักษณะเฉพาะของแบบทดสอบในงานวิจัยนี้ ดังนั้น ผู้วิจัยได้เสนอสมมติฐานปัจจัยของการไม่เลี่ยงภาษาที่สอง (Factors of L2 Non-Avoidance Hypothesis) คือ ผู้เรียนภาษาที่สองอาจไม่แสดงพฤติกรรมการเลี่ยงโครงสร้างในภาษาที่สองที่ไม่ปรากฏในภาษาที่หนึ่ง หรือโครงสร้างในภาษาที่สองที่แตกต่างจากโครงสร้างเทียบเคียงในภาษาที่หนึ่ง อย่างไรก็ตาม ปัจจัยอื่น ๆ ควรได้รับการพิจารณาประกอบด้วย en_US
dc.language.iso en en_US
dc.publisher Chulalongkorn University en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1711
dc.rights Chulalongkorn University en_US
dc.subject English language -- Usage en_US
dc.subject English language -- Grammar en_US
dc.subject Grammar, Comparative and general -- Relative clauses en_US
dc.subject ภาษาอังกฤษ -- การใช้ภาษา en_US
dc.subject ภาษาอังกฤษ -- ไวยากรณ์ en_US
dc.title Avoidance of the use of English participial reduced relative clauses among L1 Thai learners en_US
dc.title.alternative การเลี่ยงการใช้คุณานุประโยคลดรูปประเภทใช้รูปกริยาขยายในภาษาอังกฤษของผู้เรียนที่มีภาษาไทยเป็นภาษาที่หนึ่ง en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name Master of Arts en_US
dc.degree.level Master's Degree en_US
dc.degree.discipline English en_US
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en_US
dc.email.advisor Nattama.P@Chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2013.1711


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record