DSpace Repository

Marker planning for fabric cutting with sewing schedule constraint in mass customization context

Show simple item record

dc.contributor.advisor Paveena Chaovalitwongse en_US
dc.contributor.author Kritsada Puasakul en_US
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Engineering en_US
dc.date.accessioned 2017-03-03T03:02:30Z
dc.date.available 2017-03-03T03:02:30Z
dc.date.issued 2016 en_US
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52205
dc.description Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2016 en_US
dc.description.abstract The objective of this research is to develop heuristics for marker planning problem within a sewing schedule under mass customization production context. In this context, a number of sizes and an amount of demand in each size are varied in a wider range than a mass production system but with lesser total demand. The proposed problem is divided into two subproblems. The first subproblem corresponds with the cost dimension of a marker planning. Hence, the objective is to minimize the total cost related to a number of markers and excessive units. The second subproblem aims to integrate a sewing schedule into marker planning. Therefore, the objective is to minimize a work-in-process inventory workload. The initial solution from the first heuristic is determined by an LP relaxation of marker planning. Then, it is improved by a greedy-based algorithm. This algorithm focuses on reducing an unnecessary plies and adjusting marker patterns. Furthermore, initial solutions are randomized to avoid getting stuck with a local optimum. The second heuristic further improve a first heuristic’s solution by focusing on rearranging marker patterns in order to correspond with a sewing schedule. To measure performance of the proposed heuristics, the first heuristic is tested with many problems. For small-and medium-sized problems, the heuristic can reach to the optimal solutions in all problems while with large-sized problems, heuristic solutions are better than solutions from GA which can reach to optimal solutions as well. The second heuristic is tested with large-sized problems. The second heuristic can perform better than GA method. en_US
dc.description.abstractalternative งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างฮิวริสติกสำหรับปัญหาการวางแผนในการวางแบบตัดภายใต้ข้อจำกัดของกำหนดการเย็บประกอบ ในบริบทของการผลิตเฉพาะลูกค้าเชิงมวล ภายใต้บริบทการผลิตเช่นนี้คำสั่งซื้อจะมีความหลากหลายมากขึ้นทั้งจำนวนไซส์ และปริมาณสั่งซื้อในแต่ละไซส์ โดยมีคุณลักษณะจำเพาะอีกประการคือขนาดสั่งซื้อจะน้อยกว่ากรณีการผลิตแบบเชิงมวล งานวิจัยนี้ได้แบ่งปัญหาการวางแผนแบบตัดออกเป็น 2 ส่วน โดยที่งานส่วนแรกมีวัตถุประสงค์เพื่อตอบสนองการวางแผนแบบตัดด้านค่าใช้จ่าย ดังนั้นงานในส่วนนี้เป็นการพิจารณาปัญหาการวางแผนแบบตัดที่มีฟังก์ชั่นวัตถุประสงค์ในการลดค่าใช้จ่ายที่เกิดจากจำนวนแบบตัดที่ใช้และจำนวนตัวเกินที่เกิดขึ้น จากนั้นงานในส่วนที่สองจะมีวัตถุประสงค์เพื่อให้การวางแผนมีความสอดคล้องกับกำหนดการเย็บประกอบ ดังนั้นงานในส่วนที่สองจะเป็นการวางแผนแบบตัดที่มีฟังก์ชั่นวัตถุประสงค์ในการลดภาระการจัดเก็บชิ้นส่วนระหว่างผลิตลง ฮิวริสติกสำหรับปัญหาแรกจะใช้ Linearized marker planning model ในการหาคำตอบเบื้องต้น จากนั้นคำตอบที่ได้จะถูกปรับปรุงโดยหลักการ Greedy ที่มุ่งเน้นไปที่การลดจำนวนชั้นผ้าที่เกินกว่าความจำเป็นลง และการปรับเปลี่ยนแบบตัดให้เหมาะสมด้วยวิธีการย้ายสแต็ค อีกทั้งยังมีการ randomize คำตอบตั้งต้นเพื่อหลีกเลี่ยงการติดอยู่กับ local optimum อีกด้วย ส่วนฮิวริสติกสำหรับปัญหาที่สองจะนำคำตอบจากวิธีการแรกมาปรับปรุงโดยมุ่งเน้นไปที่การปรับเปลี่ยนแบบตัดให้สอดคล้องกับกำหนดการเย็บประกอบ ด้วยวิธีการจัดเรียงแบบตัดให้เหมาะสมและการย้ายสแต็คเป็นหลัก ในการวัดสมรรถนะของวิธีการที่พัฒนาขึ้น ฮิวริสติกที่หนึ่งได้ถูกนำไปทดลองกับปัญหาหลากหลายขนาด สำหรับปัญหาขนาดเล็กและกลาง ฮิวริสติกสามารถให้คำตอบที่ดีที่สุดในทุกปัญหา และผลการทดสอบกับปัญหาขนาดใหญ่ ฮิวริสติกก็สามารถให้คำตอบที่ดีกว่าวิธีการแบบ GA ที่สามารถให้คำตอบที่ดีที่สุดกับปัญหาขนาดเล็กและกลางเช่นกัน ในขณะที่ฮิวริสติกที่สองได้ถูกทดลองกับปัญหาขนาดใหญ่ ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้เมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการแบบ GA เช่นกัน ก็สามารถให้คำตอบที่ดีกว่าอย่างชัดเจน en_US
dc.language.iso en en_US
dc.publisher Chulalongkorn University en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.1642
dc.rights Chulalongkorn University en_US
dc.subject Production planning
dc.subject Production scheduling
dc.subject Heuristic algorithms
dc.subject การวางแผนการผลิต
dc.subject การกำหนดงานการผลิต
dc.subject ฮิวริสติกอัลกอริทึม
dc.title Marker planning for fabric cutting with sewing schedule constraint in mass customization context en_US
dc.title.alternative ปัญหาการวางแผนในการวางแบบตัดที่คำนึงถึงข้อจำกัดเรื่องกำหนดการในการเย็บประกอบ ในบริบทของการผลิตเฉพาะลูกค้าเชิงมวล en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name Doctor of Philosophy en_US
dc.degree.level Doctoral Degree en_US
dc.degree.discipline Industrial Engineering en_US
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en_US
dc.email.advisor Paveena.C@Chula.ac.th,cpaveena@gmail.com en_US
dc.identifier.DOI 10.58837/CHULA.THE.2016.1642


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record