dc.contributor.author |
ณุวีร์ ประภัสระกูล |
|
dc.contributor.author |
รุ่งโรจน์ ธนาวงษ์นุเวช |
|
dc.contributor.author |
เมตตา เมฆานนท์ |
|
dc.contributor.author |
พัชรี ทองคำคูณ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์ |
|
dc.contributor.other |
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กรมปศุสัตว์. สถาบันสุขภาพสัตว์ |
|
dc.date.accessioned |
2017-05-04T03:43:53Z |
|
dc.date.available |
2017-05-04T03:43:53Z |
|
dc.date.issued |
2554 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52850 |
|
dc.description.abstract |
วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้เพื่อการตรวจสอบความถูกต้องของกระบวนการตรวจเชื้อมัยโคพลาสมาจากสุกรและเพื่อประเมินปัจจัยเสี่ยงจาก การจัดการทั่วไป การทำวัคซีน การให้ยาปฏิชีวนะ ต่อการติดเชื้อระหว่างวิธีการตรวจตัวอย่างโดยตรงด้วยปฏิกิริยาลูกโซ่โพลิเมอเรส (DP) กับวิธีการเพาะเชื้อก่อนการตรวจด้วยปฏิกิริยาลูกโซ่โพลิเมอเรส (CPP) เพื่อตรวจเชื้อมัยโคพลาสมาจากเนื้อเยื่อที่แตกต่างกัน นำตัวอย่างจาก ปอดทอนซิล และน้ำจากข้อต่อ จำนวนทั้งสิ้น 1024 ตัวอย่างจากสุกรอนุบาล สุกรขุน และสุกรในโรงเชือด เก็บข้อมูลด้านการจัดการ โปรแกรมการป้องกันโรคด้วยแบบสอบถาม ทำการตรวจหาเชื้อมัยโคพลาสมา ไฮโอนิวโมเนีย (MH), มัยโคพลาสมา ไฮโอซินโนเวีย (MHS) และ มัยโคพลาสมา ไฮโอไรนิส (MHR) ด้วยทั้ง 2 วิธี ในภาพรวม ความชุกของเชื้อเท่ากับ 63.5-82.8%, 7.7-15.6 % and 1.5-7.9% ตามลำดับ พบความสัมพันธ์ระหว่างรอยโรคที่ข้อต่อกับการตรวจพบเชื้อ MHR ด้วยวิธี DP แต่ไม่พบสำหรับการตรวจด้วย CPP สำหรับเชื้อ MHR และ MH ปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการพบเชื้อมัยโคพลาสมาที่ปอดได้แก่การคลุกหมูสาวกับสุกรแม่, ระบบการจัดการแบบ one site และระบบ non all in all out ในสุกรขุนตรวจพบเชื้อ MHS ในทอนซิล และ MHT ที่ช่องจมูกเพิ่มขึ้นสัมพันธ์กับการทำวัคซีนป้องกันโรค PRRS ในสุกรสาว การทำวัคซีนป้องกัน MH สามารถลดการปรากฎของเชื้อ MH ที่ปอดได้ การให้ยาต้านจุลชีพในสุกรแม่และสุกรขุนจะช่วยลดการปรากฏของเชื้อ MHS ในทอนซิลได้ สรุปการวิจัยในครั้งนี้คืออัตราการตรวจพบเชื้อแต่ละชนิดขึ้นอยู่กับชนิดของตัวอย่างและกระบวนการตรวจ การจัดการให้สุกรลดการสัมผัสโดยตรงด้วยกระบวนการจัดการที่เหมาะสมจะช่วยลดการติดเชื้อมัยโคพลาสมาที่ปอดได้ การให้ยาเพื่อป้องกันเชื้อสามารถช่วยลดการติดเชื้อที่ทอนซิลได้ และการทำวัคซีนสามารถควบคุมการติดเชื้อที่ปอดได้ในทางปฏิบัติ แต่ไม่มีผลข้ามสายพันธุ์ของมัยโคพลาสมา |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The aim of this study was to investigate the accuracy of procedure for porcine mycoplasma detection and to evaluate the risk factors including management, vaccination and medication on the occurrence of porcine mycoplasmas. A total of 1024 samples obtained from lungs, tonsils or synovial fluids from of nursery, finisher pigs and slaughtered pigs were used. Data on management and prophylactic program were recorded by questionnaires. The rates of detection of Mycoplasma hyopneumoniae (MH), Mycoplasma hyosynoviae (MHS) and Mycoplasma hyorhinis (MHR) using both procedures were evaluated. The overall prevalences of MH, MHS and MHR were 63.5-82.8%, 7.7-15.6% ad 1.5-7.9%, respectively. There was a significant relationship between joint lesion and MHR detection by directed PCR, but not for MHS and MHR detected by culture prior to PCR (CPP). The factors related the increase of mycoplasmal detection from lungs were gilt acclimatization with sow donor the one-site management and no all-in all-out in the fattening unit. Te occurrence of MHA (tonsils) and MHR (nasal swab) were increasingly detected at the practice of PRRSV vaccination in gilt acclimatization. MH vaccination reduced the occurrence of MH. The medication during sow and nursery period reduced the occurrence of MHR isolated from slaughtered lungs. The antimicrobial medication during sucking and fattening periods reduced the occurrence of MHS isolated from tonsils. In conclusions, the accuracy of mycoplasmal detection may depend upon the type of sample relevant to the detection procedure used. The management to avoid pig direct contact practically reduced the lung infection of Mycoplasma spp but not for heterologous species. |
en_US |
dc.description.sponsorship |
ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากเงินอุดหนุนทั่วไปจากรัฐบาล ประจำปีงบประมาณ 2554 |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
สุกร -- การติดเชื้อ |
en_US |
dc.subject |
สุกร -- โรค |
en_US |
dc.subject |
มัยโคพลาสมา |
en_US |
dc.subject |
โรคเกิดจากแบคทีเรีย |
en_US |
dc.title |
การประเมินมาตรการการป้องกันและควบคุมเชื้อมัยโคพลาสมาในฟาร์มสุกรในประเทศไทย : รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
en_US |
dc.title.alternative |
Evaluation of routine control and preventive strategies of Mycoplasma Sp. in Thai pig farms |
en_US |
dc.type |
Technical Report |
en_US |
dc.email.author |
nuvee.p@chula.ac.th |
|
dc.email.author |
roongroje.t@chula.ac.th |
|
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.discipline.code |
0512 |
en_US |