DSpace Repository

Prevalence of potentially inappropriate medication (PIM) and factors associated with PIM in elderly outpatient prescriptions at a district hospital in the Southern region of Thailand

Show simple item record

dc.contributor.advisor Panza, Alessio
dc.contributor.advisor Chapman, Robert Sedgwick
dc.contributor.author Tanavij Pannoi
dc.contributor.other Chulalongkorn University. College of Public Health Sciences
dc.date.accessioned 2017-06-22T00:23:57Z
dc.date.available 2017-06-22T00:23:57Z
dc.date.issued 2013
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53054
dc.description Thesis (H.P.H.)--Chulalongkorn University, 2013 en_US
dc.description.abstract The aims of study are to know the prevalence of, and to describe factors associated with prescribing PIM at a district hospital in the south of Thailand. In this cross-sectional study, the elderly patients were a ≥ 65-year outpatient and had at least 1 prescribed medication from the hospital. Overall patients were 430 with 2,128 prescriptions. 2012 Beers criteria were applied to detect PIM. Prevalence of PIM was calculated by their total prescriptions. Prescription, patient, and prescriber characteristics associated with PIM were analyzed by logistic regression. Results showed that 28% of total prescriptions had at least 1 PIM. There was the more likelihood of PIM prescription at outpatient department increased significantly when that prescription comprised of more than 5 medications (p<0.001). The positive association between age of participant and the presence of PIM prescription was observed (OR=1.018, p= 0.040, CI=1.001-1.035). Interestingly, the elderly outpatients who had more frequent outpatient visits had less PIM prescription as compared to reference group, who had 1-3 visits. (4-6 vs. ≥7: OR = 0.581 [95%CI=0.408-0.828], p=0.003 vs. OR=0.704 [95%CI=0.526-0.943], p=0.019) No statistically significant association between the presence of PIM and patient's gender, number of diagnoses, Types of health insurance schemes, hospitalizations, prescriber's gender, ages, types of prescriber and length of prescriber's years work was observed. en_US
dc.description.abstractalternative การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาความชุกและอธิบายปัจจัยที่สัมพันธ์เกี่ยวกับการใช้ยาที่มีแนวโน้มไม่เหมาะสมในผู้ป่วย สูงอายุ ณ โรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่งทางภาคใต้ของประเทศไทยเป็นการศึกษาเป็นแบบตัดขวาง(Cross-sectional study) โดยใช้ ข้อมูลใบสั่งยาเฉพาะผู้ป่วยนอกที่มีการสั่งใช้ในระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2554 ถึง 30 กันยายน 2555 จำนวนผู้ป่วยนอกที่ถูกสุ่มคัดเลือก อย่างเป็นระบบทั้งหมด 430 คน โดยผู้ป่วยนอกอายุ 65 ปีขึ้นไปและได้รับยาจากแผนกผู้ป่วยนอกจากโรงพยาบาลอย่างน้อย 1 รายการ ในช่วงเวลาดังกล่าว และมีจำนวนใบสั่งยาของผู้ป่วยที่ได้รับการคัดเลือกเหล่านี้ในช่วงเวลาดังกล่าวทั้งหมด 2,128 ใบ. เครื่องมือที่ใช้ ในการประเมินการใช้ยาที่มีแนวโน้มไม่เหมาะสม คือ เกณฑ์มาตรฐาน Beers 2012 ผลการศึกษาพบว่าความชุกของของใบสั่งยาที่มีการใช้ยาที่มีแนวโน้มไม่เหมาะสมคิดเป็นร้อยละ 28 ของจำนวนใบสั่งยา ทั้งหมด ปัจจัยที่มีผลต่อการการใช้ยาที่มีแนวโน้มไม่เหมาะสมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คือ จำนวนรายการยาตั้งแต่ 5 รายการขึ้นไป (p<0.001) อายุของผู้ป่วย (OR=1.018, p= 0.040, CI=1.001-1.035) และผู้ที่มีจำนวนครั้งการใช้บริการในแผนกผู้ป่วยนอกของ โรงพยาบาลมีแนวโน้มที่จะได้รับยาที่มีแนวโน้มไม่เหมาะสมต่ำกว่าผู้ป่วยในกลุ่มเปรียบเทียบซึ่งใช้บริการ 1-3 ครั้ง (4-6 ครั้ง และ ≥7 ครั้ง : OR = 0.581 [95%CI=0.408-0.828], p=0.003 และ OR=0.704 [95%CI=0.526-0.943], p=0.019 ตามลำดับ) อย่างไรก็ตามไม่ พบว่า ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ เพศของผู้ป่วย จำนวนโรคที่ได้รับการวินิจฉัย ประเภทของสิทธิผู้ประกันตนของผู้ป่วยจำนวนครั้งการเข้า รักษาพยาบาลในหอผู้ป่วยใน รวมถึง เพศอายุ อายุการทำงาน และประเภทของผู้สั่งใช้ยามีความสัมพันธ์ต่อการใช้ยาที่มีแนวโน้มไม่ เหมาะสมสำหรับผู้ป่วยสูงอายุในการศึกษานี้ en_US
dc.language.iso en en_US
dc.publisher Chulalongkorn University en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1868
dc.rights Chulalongkorn University en_US
dc.subject Older people -- Drug utilization -- Thailand, Southern en_US
dc.subject ผู้สูงอายุ -- การใช้ยา -- ไทย (ภาคใต้) en_US
dc.title Prevalence of potentially inappropriate medication (PIM) and factors associated with PIM in elderly outpatient prescriptions at a district hospital in the Southern region of Thailand en_US
dc.title.alternative ความชุกของการใช้ยาที่มีแนวโน้มไม่เหมาะสม และปัจจัยที่สัมพันธ์ต่อการใช้ยาที่มีแนวโน้มไม่เหมาะสมจากการประเมินใบสั่งยาของผู้ป่วยนอกสูงอายุ ณ โรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่งทางภาคใต้ของประเทศไทย en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name Master of Public Health en_US
dc.degree.level Master's Degree en_US
dc.degree.discipline Public Health en_US
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en_US
dc.email.advisor Alessio.P@Chula.ac.th
dc.email.advisor Robert.S@Chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2013.1868


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record