DSpace Repository

Bioactive potentials of selected malvaceous plants

Show simple item record

dc.contributor.advisor Chanida Palanuvej
dc.contributor.advisor Nijsiri Ruangrungsi
dc.contributor.author Nantaporn Dinlakanont
dc.contributor.other Chulalongkorn University. College of Public Health Sciences
dc.date.accessioned 2017-06-22T00:40:48Z
dc.date.available 2017-06-22T00:40:48Z
dc.date.issued 2013
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53056
dc.description Thesis (M.Sc)--Chulalongkorn University, 2013 en_US
dc.description.abstract Bioactive potentials of selected Malvaceous plants were studiesin vitro. The purposes of this present study were to investigate the bioactive properties of selected Malvaceae plant materials. The crude drugs from stems, roots, and leaves of SidaacutaBurm. f., Abutilon indicum(Linn.) Sweet and Malvastrumcoromandelianum (Linn.) Garcke were sequentially extracted by soxhlet apparatus with dichloromethane and methanol respectively. The study found that S. acuta exhibited antimicrobial potential against all tested microorganisms. However, the antimicrobial effect was selective depended on the microorganism species as well as parts of the plants and types of extractives solvents. The methanolic extract of leaves of S. acuta showed promising antimalarial activity against both K1 chloroquine resistant and 3D7 chloroquine sensitiveP. falciparum with the IC50 of 4.60 and 4.00μg/ml respectively. Crude alkaloid was isolated from S. acuta whole plants and demonstrated antimalarial activity with IC50 of 6.26 and 9.36 μg/ml respectively. The yeast alpha-glucosidase, rat alpha-glucosidase and pancreatic alpha-amylase inhibition testings among S. acuta, A. indicum and M. coromandelianum extracts were determinedin vitro. The results showed that the dichloromethane extracts of roots from A. indicum had strong effect on yeast alpha-glucosidase inhibition compared to 1-deoxynojirimycin with the IC50 of 0.36 and 0.58 mg/ml respectively. The methanolic extract of roots from A. indicum has a highest effect on rat alpha-glucisidase inhibition compared to 1-deoxynojirimycin with the IC50 of 0.08 and 0.11 mg/ml respectively. Moreover, the results showed that the dichloromethane extracts of roots and methanolic extracts of stems from M. coromandelianum had a strongest effect on alpha-amylase inhibition compared to acarbose with the IC50 of 0.07 and 2.7 mg/ml respectively. The greatest scavenger of DPPH radical was dichloromethane extracts of S. acuta roots (IC50=0.20 mg/ml). The highest NO scavenging activity was shown from the dichloromethane extract of S. acuta leaves (IC50=0.11 mg/ml). The dichloromethane extract of leaves and methanolic extract of roots from S. acuta showed great potential on metal chelation with IC50 of 1.6 mg/ml. However, the highest reducing capacity was exhibited by the extracts of leaves from dichloromethane fraction of S. acuta (IC50=2.45 mg/ml). Furthermore, Brine shrimp lethality assay demonstrated that all tested concentrations of S. acuta caused no lethality to brine shrimp (LC50 value 9000 μg/ml). Selected Malvaceous plants including S. acuta, M. coromandelianum and A. indicum demonstrated potent inhibitory activities against key carbohydrate digestive enzymes which control postprandial blood glucose level. S. acuta was revealed for its potency on antimicrobial, antimalarial and antioxidant activities. en_US
dc.description.abstractalternative การประเมินฤทธิ์ทางชีวภาพของพืชสมุนไพรบางชนิดในวงศ์ฝ้าย มีวัตถุประสงค์เพื่อจะทดสอบหาฤทธิ์ทางชีวภาพของพืชบางชนิดในวงศ์นี้ พืชแห้งจากส่วนของ ราก ลาต้น และ ใบของต้นหญ้าขัดมอญ ต้นครอบฟันสี และ หญ้าเทวดา ถูกสกัดด้วยวิธีการสกัดแบบต่อเนื่อง (soxhlet apparatus) ในไดคลอร์โรมีเทน และเมทานอลตามลาดับ การทดสอบฤทธิ์ต้านจุลชีวินพบว่าหญ้าขัดมอญ มีฤทธิ์ในการต้านจุลชีวินทั้งหมดที่ศึกษา แต่ฤทธิ์ที่พบแตกต่างกันไปตามชนิดของเชื้อ ส่วนที่ใช้ของพืชและตัวทาละลายที่นามาสกัด เมื่อทาการทดสอบฤทธิ์การต้านเชื้อมาลาเรียสายพันธุ์P. falciparum K1 (ต้านต่อยาคลอโรควิน) และ 3D7 (ไวต่อยาคลอโรควิน) พบว่าส่วนของใบหญ้าขัดมอญที่สกัดด้วยเมทานอลมีฤทธิ์ดีในการต้านเชื้อมาลาเรีย ซึ่งมีค่าความเข้มข้นที่ยับยั้งเชื้อได้ร้อยละ50(IC50)ที่4.60 และ 4.00 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตรตามลาดับอัลคาลอยด์ที่สกัดจากต้นหญ้าขัดมอญทั้งต้นให้ฤทธิ์ยับยั้งเชื้อมาลาเรียที่IC506.26 และ 9.36 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตรตามลาดับ ในการทดสอบฤทธิ์การยับยั้งเอนไซน์แอลฟากลูโคซิเดส และเอนไซม์แอลฟาอะไมเลสของพืชทั้งสามต้น พบว่าสารสกัดจากรากของครอบฟันสีที่สกัดด้วยไดคลอร์โรมีเทนให้ฤทธิ์การยับยั้งที่ดีในการยับยั้งเอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดสจากยีสต์เมื่อเทียบกับสารมาตรฐานดีออกซีนอจิริไมซินโดยมีค่าIC50อยู่ที่ 0.36 และ 0.58 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร นอกจากนี้สารสกัดจากครอบฟันสีในส่วนของรากที่สกัดด้วยเมทานอลมีฤทธิ์ดีในการยับยั้งเอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดสจากลาไส้เล็กของหนูเมื่อเทียบกับสารมาตรฐานดีออกซีนอจิริไมซินโดยมีค่าIC500.08 และ 0.11 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตรตามลาดับ และยังพบว่าส่วนของรากที่สกัดด้วยไดคลอร์โรมีเทนและลาต้นที่สกัดด้วยเมทานอลจากต้นหญ้าขัดมอญให้ค่าการยับยั้งเอนไซม์แอลฟาอะไมเลสที่ดีเมื่อเทียบกับสารมาตรฐานอะคาร์โบสโดยมีค่าIC500.07และ2.7มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตรตามลาดับ จากการทดสอบฤทธิ์ต้านออกซิเดชันด้วยวิธีการต้านอนุมูลอิสระดีพีพีเอชพบว่าสารสกัดจากรากในต้นหญ้าขัดมอญที่สกัดด้วยไดคลอร์โรมีเทนให้ฤทธิ์ที่ดี (IC50 = 0.20 มิลลิกรัมต่อมมิลิลิตร) ในการทดสอบฤทธิ์ต้านไนตริกออกไซด์พบว่าสารสกัดจากส่วนใบของต้นหญ้าขัดมอญที่สกัดด้วยไดคลอร์โรมีเทนให้ฤทธิ์ที่ดี (IC50=0.11มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร) นอกจากนี้สารสกัดในส่วนของใบที่สกัดด้วยไดคลอร์โรมีเทนและรากที่สกัดด้วยเมทานอลของต้นหญ้าขัดมอญให้ค่าที่ดีในการคีเลทไออนของโลหะ (IC50=1.6 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร) การทดสอบความสามารถในการรีดิวซ์พบว่าส่วนของใบที่สกัดด้วยไดคลอร์โรมีเทนจากหญ้าขัดมอญมีพลังรีดิวซ์ดีที่สุด(IC50=2.45 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร) ไม่พบความเป็นพิษของหญ้าขัดมอญในการทดสอบความเป็นพิษต่อไรทะเล (LC509000 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร)โดยสรุปหญ้าขัดมอญ หญ้าเทวดาและครอบฟันสีให้ฤทธิ์ที่ดีในการยับยั้งเอนไซม์ที่สาคัญต่อการย่อยคาร์โบไฮเดรตซึ่งควบคุมปริมาณน้าตาลในเลือด และต้นหญ้าขัดมอญมีศักยภาพในการต้านจุลชีวิน ต้านมาลาเรีย และต้านอนุมูลอิสระ en_US
dc.language.iso en en_US
dc.publisher Chulalongkorn University en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1870
dc.rights Chulalongkorn University en_US
dc.subject Antioxidant en_US
dc.subject Bioactive compounds en_US
dc.subject Plant extracts en_US
dc.subject Malvaceous plants en_US
dc.subject แอนติออกซิแดนท์ en_US
dc.subject สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ en_US
dc.subject สารสกัดจากพืช en_US
dc.subject ฝ้าย (พืช) en_US
dc.title Bioactive potentials of selected malvaceous plants en_US
dc.title.alternative การประเมินฤทธิ์ทางชีวภาพของพืชสมุนไพรบางชนิดในวงศ์ฝ้าย en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name Master of Public Health en_US
dc.degree.level Master's Degree en_US
dc.degree.discipline Public Health en_US
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en_US
dc.email.advisor Chanida.P@Chula.ac.th
dc.email.advisor Nijsiri.Ru@Chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2013.1870


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record