DSpace Repository

การจำลองการไหลของน้ำใต้ดินและการเคลื่อนที่ของสารปนเปื้อนจำพวกสารอินทรีย์ระเหยในตัวกลางรูพรุน

Show simple item record

dc.contributor.advisor อักษรา พฤทธิวิทยา
dc.contributor.advisor ครรชิต ลิขิตเดชาโรจน์
dc.contributor.author เกรียงศักดิ์ มานะจิตต์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2017-06-22T14:56:10Z
dc.date.available 2017-06-22T14:56:10Z
dc.date.issued 2550
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53091
dc.description วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 en_US
dc.description.abstract ในหลายประเทศรวมถึงประเทศไทย การปนเปื้อนของสารปนเปื้อนในน้ำใต้ดินเป็นปัญหาที่สำคัญต่อสิ่งแวดล้อม สารละลายจากกระบวนการซักล้างและสารอินทรีย์ระเหยซึ่งเป็นสารจำพวกสารไฮโดรคาร์บอนเป็นสารปนเปื้อนที่พบได้บ่อยในน้ำใต้ดิน ในประเทศไทยสารอินทรีย์ระเหยเป็นสารที่ทราบกันเป็นอย่างดีว่ามีอันตรายต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ในการศึกษานี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาการเคลื่อนตัวของสารปนเปื้อนประเภทสารประกอบไฮโดรคาร์บอนผ่านตัวกลางที่เป็นตัวแทนของชั้นน้ำที่ไม่เป็นเนื้อเดียวกัน การศึกษาจะทำการทดลองในห้องปฏิบัติการด้วยแบบจำลองกายภาพชนิดคอลัมภ์ การศึกษาด้วยแบบจำลองคอลัมภ์ใช้สารละลายโซเดียมคลอไรด์ เบนซีนและไตรคลอโรเอธิลีนในการศึกษา ควบคุมการปล่อยสารแบบกะ ที่ทางเข้าผ่านตัวกลางที่เป็นตัวแทนของชั้นน้ำ การวัดความเข้มข้นสารเบนซีนและไตรคลอโรเอธิลีนมีการพัฒนาใช้เครื่องยูวี-วิซิเบิลแทนเครื่องแก็สโครมาโตกราฟี ผลการศึกษาการเคลื่อนตัวของสารปนเปื้อนพบว่าสารคลอไรด์เดินทางเร็วที่สุดตามด้วยสารเบนซีนและสารไตรคลอโรเอธิลีนตามลำดับ การวัดข้อมูลจากการทดลองพบว่าลักษณะหางที่ยาวเป็นผลกระทบของ แบ็คดิฟฟิวชั่น ที่อัตราการไหลต่ำมวลของไตรคลอโรเอธิลีนและเบนซีนจะถูกดูดซับไว้ในอัตราที่สูงซึ่งมีผลโดยตรงต่อค่าตัวประกอบความหน่วงการปรับอัตราการไหลจาก 40 เป็น 60 มิลลิลิตรต่อชั่วโมงส่งผลให้เกิดสภาวะไม่สมดุลทางเคมี ข้อมูลจากแบบจำลองกายภาพจะเป็นข้อมูลนำเข้าในแบบจำลอง UTCHEM en_US
dc.description.abstractalternative For many nations (including Thailand) groundwater contamination has become one of the most critical and challenging environmental problems. Chlorinated solvents and other volatile organic compounds such as petroleum hydrocarbon are prevalent groundwater contaminants all over the world, including Thailand. These volatile compounds are commonly known to present major risks to human health and the environment. In this study, we aimed to investigate the transport of both chlorinated solvent and petroleum hydrocarbon in the representation of aquifer spatial heterogeneities and non-uniformities by conducting laboratory column experiments. A series of column tests was performed by introducing NaCl, TCE, and benzene solutions as two square pulses at the inlet boundary into the well packed representative natural aquifer materials. Effluents benzene and TCE concentrations analyzed using UV/VIZ illustrated the similar trend as obtained from GC analysis. Chloride, benzene, and TCE BTCs results suggested the significant late arrival of benzene peak and even later arrival of TCE peak compared to chloride. Longer tailing effects observed at the late time of the experiments due to back diffusion process. At lower flow rate, TCE and benzene molecules may be retained at a higher degree or even the predominant process affecting TCE and benzene transport is an irreversible sorption rather than retardation. Increasing flow rate from 40 to 60 mL/hr indicating that Nonequilibrium mass transfer processes between phases might have occurred. The observed data were used in UTCHEM model en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.102
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject สารประกอบอินทรีย์ระเหย en_US
dc.subject น้ำใต้ดิน -- มลพิษ en_US
dc.subject น้ำใต้ดิน en_US
dc.subject Volatile organic compounds en_US
dc.subject Groundwater -- Pollution en_US
dc.subject Groundwater en_US
dc.title การจำลองการไหลของน้ำใต้ดินและการเคลื่อนที่ของสารปนเปื้อนจำพวกสารอินทรีย์ระเหยในตัวกลางรูพรุน en_US
dc.title.alternative Lab-scale simulations of groundwater flow and volatile organic compound (VOCs) migration in porous media en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline วิศวกรรมแหล่งน้ำ en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor dr.aksara.putthividhya@gmail.com
dc.email.advisor Kanchit.L@chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2007.102


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record