dc.contributor.advisor |
อมร วาณิชวิวัฒน์ |
|
dc.contributor.author |
เจษฎา ยางนอก |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2017-06-27T01:50:51Z |
|
dc.date.available |
2017-06-27T01:50:51Z |
|
dc.date.issued |
2549 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53151 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (สค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 |
en_US |
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงทัศนคติต่อการแต่งกายล่อแหลมของวัยรุ่นหญิงในสถานบันเทิงย่านอาร์.ซี.เอ.กรุงเทพมหานคร โดยหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่กำหนด ซึ่ง ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคลทางด้านจิตวิทยา ปัจจัยทางสังคมด้านการรับรู้วัฒนธรรมหลัก และปัจจัยทางสังคมด้านการรับรู้วัฒนธรรมย่อย โดยศึกษาวัยรุ่นหญิงที่ไปใช้บริการในสถานบันเทิงอาร์.ซี.เอ. ที่มีอายุอยู่ในช่วงระหว่าง 20 ถึง 25 ปี จำนวน 200 คน ซึ่งได้ใช้วิธีการศึกษาเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือสำหรับเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อวิเคราะห์คำตอบโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และการทดสอบค่าไคสแควร์ ซึ่งการทดสอบพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จากนั้นจึงนำข้อมูลที่ได้ไปทำการวิเคราะห์ การแต่งกายล่อแหลมของวัยรุ่นหญิงในสถานบันเทิงมีสาเหตุมาจากปัจจัยหลายประการดังได้กล่าวถึงข้างต้น ในระดับความล่อแหลมที่แตกต่างกัน ในแง่การทดสอบความสัมพันธ์ วัยรุ่นหญิงเห็นว่าการแต่งกายล่อแหลมนั้นเหมาะสมกับสถานบันเทิงในเวลากลางคืน เพราะการแต่งกายล่อแหลมนั้นทำให้ตนเองดูสวยงามขึ้น ทันสมัย ไม่ตกยุค สามารถเพิ่มความมั่นใจให้ตนเองและเข้ากับกลุ่มเพื่อนที่มาเที่ยวสถานบันเทิงในเวลากลางคืนได้ และวัยรุ่นหญิงได้รับรู้ถึงการแต่งกายล่อแหลมในสังคมไทยผ่านข่าวสารจากแหล่งต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นสื่อโทรทัศน์ นิตยสาร หนังสือพิมพ์ และอินเตอร์เน็ทอย่างสม่ำเสมอ รวมถึงการพบเห็นดารา บุคคลสำคัญแต่งกายล่อแหลมเป็นประจำ และนอกจากนี้ยังได้รับรู้รับข่าวสารเกี่ยวกับ การแต่งกายล่อแหลมจากเพื่อนสนิทหรือเพื่อนร่วมงาน และมักมีการพูดคุยกันเกี่ยวกับการแต่งกายล่อแหลมอยู่เป็นประจำ จึงทำให้วัยรุ่นหญิงจำนวนมากเห็นว่าสังคมไทยยอมรับการแต่งกายล่อแหลมในสถานบันเทิงในเวลากลางคืน และเห็นว่าเป็นเรื่องปกติธรรมดาในสังคมไทยไปแล้ว |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this research is to probe into female teenagers’ attitude toward appeal dress-code at R.C.A. entertainment premises, Bangkok metropolitan. The correlation between various defined factors are tested to determine whether there is any statistically significant, namely psychological, mainstream societal-cultural perception as well as mainstream societal-sub cultural factors. There are 200 female teenagers, at around 20-25 years of age, who had a night-out at R.C.A. entertainment premises participated in this study. The application of quantitative method by using interview questionnaire is the tool in collecting all needed data. Percentage, Mean and Chi-Square are used for analytical process at 0.05 level of significant. The result shows the motivation of such dress-code came from the impact at different degree, of various factors on the above mentioned. However, in terms of correlation testing, it is found that female teenagers believed wearing clothes as such was suitable for a night-out at entertainment premises. It also makes themselves look trendy, pretty and self-confident in joining with others. Female teenagers in this study admitted that varieties of media such as TV, magazines, newspapers, internet influenced them in adopting the way their idols or well-known individuals did. Apart from this, major influence is also pushed by close friends, colleagues through word of mouth. It is therefore, many female teenagers see this kind of dress-code for a night-out as an ordinary thing in Thai society. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.277 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
วัยรุ่นหญิง -- การแต่งกาย |
en_US |
dc.subject |
ค่านิยมในวัยรุ่น |
en_US |
dc.subject |
วัยรุ่น -- ทัศนคติ |
en_US |
dc.subject |
สถานเริงรมย์ -- ไทย -- กรุงเทพฯ |
en_US |
dc.subject |
Teenage girls -- Clothing and dress |
en_US |
dc.subject |
Values in adolescence |
en_US |
dc.subject |
Adolescence -- Attitude (Psychology) |
en_US |
dc.subject |
Amusements -- Thailand -- Bangkok |
en_US |
dc.title |
ทัศนคติต่อการแต่งกายล่อแหลมของวัยรุ่นหญิงในสถานบันเทิงย่านอาร์.ซี.เอ. |
en_US |
dc.title.alternative |
A study of female teenagers attitude on sexually appealing dress-code at R.C.A. entertainment premises |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
สังคมวิทยามหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
สังคมวิทยา |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
Amorn.W@Chula.ac.th |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2006.277 |
|