DSpace Repository

Ground motion prediction using coda-wave interferometry for the Sounthern San andreas fault

Show simple item record

dc.contributor.advisor Thanop Thitimakorn
dc.contributor.advisor Santi Pailoplee
dc.contributor.advisor Beroza, Gregory C.
dc.contributor.advisor Denolle, Marine
dc.contributor.author Penprapa Wutthijuk
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Science
dc.coverage.spatial United Stated
dc.coverage.spatial San Andreas
dc.date.accessioned 2017-09-20T04:42:10Z
dc.date.available 2017-09-20T04:42:10Z
dc.date.issued 2011
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53339
dc.description A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science Department of Geology Faculty of Science Chulalongkorn University Academic Year 2011 en_US
dc.description.abstract Ground motion prediction in urban areas that are under the threat of major earthquakes, such as Los Angeles, is a challenge for seismic hazard analysis. The effect of complex sedimentary basins is a source of particular concern for simulating wave propagation here. Previous works developed a new approach that directly accounts for elastic and anelastic effects, through computing the Green's function using seismic noise. However, this technique is limited because the distribution of the noise sources in southern California is not homogeneous. This project used coda-wave interferometry of the M7.2 El Mayor-Cucapah aftershock to extract the Green’s function for stations along the southern San Andreas fault. By stacking the Green's function, we found that Green’s function can be extracted from coda-wave interferometry and has higher signal to noise ratio than seismic noise Green’s function that implied more accurate Green’s function. Furthermore, the combination of both would greatly enhance the accuracy of the retrieved Green's function. Finally, obtained coda-wave Green’s function can be used to predict ground motion in Los Angeles sedimentary basin as a response to M7+ earthquake on the San Andreas fault. en_US
dc.description.abstractalternative การคาดการณ์การตอบสนองต่อคลื่นแผ่นดินไหวของแต่ละพื้นที่เป็นเรื่องที่มีความสำคัญและเป็นประโยชน์อย่างมากเพราะเราพบว่าแต่ละพื้นที่มีการตอบสนองต่อคลื่นแผ่นดินไหวที่ต่างกัน ทำให้เมื่อเกิด แผ่นดินไหวที่ระดับการสั่นไหวที่จุดกำเนิดเดียวกัน แต่ละพื้นที่มีการตอบสนองต่อคลื่นแผ่นดินไหวดังกล่าว ในลักษณะของการสั่นไหวที่มีความรุนแรงแตกต่างกัน ยิ่งไปกว่านั้นการคาดการณ์การตอบสนองต่อคลื่น แผ่นดินไหวของเขตพื้นที่เมืองใหญ่อย่างมหานครลอสเเองเจลิสยังเป็นเรื่องท้าทายของนักแผ่นดินไหววิทยา เพราะนอกจากพื้นที่ดังกล่าวจะเป็นที่ตั้งของมหานครขนาดใหญ่ มีความสำคัญทั้งในแง่ของเศรษฐกิจและ ที่อยู่อาศัยของคนจำนวนมากแล้ว มหานครแห่งนี้ยังตั้งอยู่บนแอ่งตะกอนและอยู่ใกล้กับแนวการวางตัว ของรอยเลื่อนซานแอนเดรียสตอนใต้ ด้วยเหตุนี้บริเวณดังกล่าวจึงเป็นพื้นที่เสี่ยงที่จะเกิดแผ่นดินไหวได้ นอกจากนี้พบว่าผลของตะกอนในแอ่งยังทำให้เกิดการขยายตัวของคลื่นแผ่นดินไหวซึ่งจะทำให้ระดับการ สั่นไหวมีความรุนแรงมากขึ้น งานวิจัยนี้จึงสนใจคาดการณ์การตอบสนองต่อคลื่นแผ่นดินไหวของพื้นที่แอ่ง ตะกอนลอสแองเจลิสและรัฐแคลิฟอร์เนียตอนใต้ จากการศึกษางานวิจัยที่ผ่านมา พบว่าการตอบสนองต่อคลื่นแผ่นดินไหวของพื้นที่สามารถ คำนวณได้จากฟังก์ชันของกรีน ซึ่งพื้นที่ศึกษานี้มีการคำนวณฟังก์ชันของกรีนจากไซซ์มิคนอยซ์แล้ว แต่มีข้อ จำกัดในเรื่องของการกระจายตัวของแหล่งกำเนิดคลื่นที่ไม่หลากหลาย งานวิจัยชิ้นนี้จึงสนใจคำนวณ ฟังก์ชันของกรีนจากคลื่นแผ่นดินไหวขนาดแมกนิทูด 7.2 และมีจุดศูนย์กลางที่บาจาแคลิฟอร์เนียโดยใช้ เทคนิคโคดาเวพอินเตอร์เฟอร์โรเมทรี ซึ่งผลการศึกษาพบว่าเทคนิคนี้สามารถใช้คำนวณฟังก์ชันของกรีนได้ และฟังก์ชันที่คำนวณได้มีสัดส่วนของสัญญาณต่อคลื่นรบกวนที่มากกว่าฟังก์ชันที่คำนวนได้จากไซซ์มิค- นอยซ์ แสดงให้เห็นว่าฟังก์ชันของกรีนที่คำนวณจากโคดาเวพมีความถูกต้องแม่นยำมากกว่าและบางกรณี พบว่าผลรวมของฟังก์ชันที่คำนวณได้จากโคดาเวพและไซซ์มิคนอยซ์ทำให้ได้ฟังก์ชันที่มีความถูกต้องมาก ขึ้น นอกจากนี้ฟังก์ชันของกรีนที่คำนวณจากเทคนิคโคดาเวพอินเตอร์เฟอร์โรเมทรียังสามารถนำมาใช้สร้าง แผนที่แสดงระดับการสั่นไหวของพื้นที่แคลิฟอร์เนียตอนใต้ กรณีเกิดแผ่นดินไหวขนาดแมกนิทูด 7 บริเวณ รอยเลื่อนซานแอนเดรียสตอนใต้ en_US
dc.language.iso en en_US
dc.publisher Chulalongkorn University en_US
dc.rights Chulalongkorn University en_US
dc.subject Earthquake prediction en_US
dc.subject Earthquake prediction -- San Andreas Fault (Calif.) en_US
dc.subject พยากรณ์แผ่นดินไหว
dc.subject พยากรณ์แผ่นดินไหว -- รอยเลื่อนซานแอนเดรียส (แคลิฟอร์เนีย)
dc.title Ground motion prediction using coda-wave interferometry for the Sounthern San andreas fault en_US
dc.title.alternative การคาดการณ์ตอบสนองต่อคลื่นแผ่นดินไหวของดินโดยใช้เทคนิคโคดาเวพอินเตอร์เฟอร์โรเมทรีบริเวณรอยเลื่อนซานแอนเดรียสตอนใต้ en_US
dc.type Senior Project en_US
dc.email.advisor thanop.t@chula.ac.th
dc.email.advisor Pailoplee.S@hotmail.com
dc.email.advisor No information provided
dc.email.advisor No information provided
dc.email.author penprapa_eay728@hotmail.com


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record