dc.contributor.advisor |
Thanop Thitimakorn |
|
dc.contributor.advisor |
Armando Sena |
|
dc.contributor.advisor |
Youli Quan |
|
dc.contributor.advisor |
Jerry Harris |
|
dc.contributor.author |
Praepaka Chumtong |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Science |
|
dc.date.accessioned |
2017-09-25T01:04:51Z |
|
dc.date.available |
2017-09-25T01:04:51Z |
|
dc.date.issued |
2011 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53345 |
|
dc.description |
A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements
for the Degree of Bachelor of Science Department of Geology Faculty of Science
Chulalongkorn University Academic Year 2011 |
en_US |
dc.description.abstract |
Maximizing oil and gas production, or CO₂ sequestration capacity of a reservoir, requires detailed knowledge of reservoir properties and monitoring changes in fluid or gas content. Large contrasts of electrical resistivity between different fluids (gas/oil versus brine/connate water) and reservoir rocks make 4D controlled-source electromagnetic (CSEM) monitoring an effective tool for reservoir analysis. To examine the feasibility of CSEM monitoring at the Ghawar oil field, Saudia Arabia, we use porosity and permeability data from the Ghawar field to construct a geologic model of the reservoir. We simulate changes in water and CO₂ gas content within the reservoir over ten years in a CO₂ injection scenario. Archie’s law for carbonate reservoirs is then used to convert the simulation results to changes of reservoir conductivity. Last, the reservoir is embedded within a 3D homogenous seabed background conductivity model. A Finite Element Modeling technique is used to simulate time-lapse frequency domain CSEM data for reservoirs buried at a variety of depths. The results of the feasibility study show that the CSEM response exhibits small but measurable changes that are characteristic of reservoir-depletion geometry (conductivity). Our analysis demonstrates that CSEM can detect changes in reservoir properties at 1.5 years, 3 years, 6 years, and 10 years at 250m, 500m, and 1000m depths respectively. Moreover, high frequency sources result in better resolution, though resolution degrades significantly with reservoir depth. |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
ในการผลิตน้ำมันและก๊าซให้ได้มากที่สุดหรือการกักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นหินกักเก็บจำเป็นต้องอาศัยความรู้เกี่ยวกับคุณสมบัติของชั้นหินกักเก็บเพื่อที่จะเฝ้าติดตามการเปลี่ยนแปลงของของเหลวหรือก๊าซภายในชั้นหินกักเก็บนั้น ความแตกต่างของคุณสมบัติทางไฟฟ้าของของเหลวที่แตกต่างกันในชั้นหินเช่น ระหว่างก๊าซหรือน้ำมันกับน้ำ จะทำให้การสำรวจโดยใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพในการเฝ้าวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงภายในชั้นหินกักเก็บ ในงานวิจัยครั้งนี้ เราได้ทำการสร้างแบบจำลองของชั้นหินกักเก็บขึ้นมาโดยอ้างอิงข้อมูลของรูพรุนและค่าการซึมผ่านได้มาจากงานวิจัยซึ่งทำการศึกษาลักษณะศิลาวรรณนาของชั้นหินกักเก็บในบริเวณพื้นที่กวาว่า ประเทศซาอุดิอาระเบีย จากนั้นเราได้จำลองการเปลี่ยนแปลงของของเหลวภายในชั้นหินจากเริ่มต้นที่เป็นน้ำ แล้วทำการอัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เข้าไปแทนที่เป็นระยะเวลาต่อเนื่อง 10 ปี นำค่าข้อมูลที่ระยะเวลาต่างๆมาคำนวณให้เป็นแบบจำลองชั้นหินในรูปของค่าความนำไฟฟ้า จากนั้นทำการคำนวณค่าของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ระยะเวลาต่างๆโดยจะขึ้นอยู่กับตัวแปรสองชนิดคือ ความถี่ของสัญญาณและความลึกของชั้นหินกักเก็บที่อยู่ในพื้นดิน จากการศึกษาพบว่า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลงไปมีค่าน้อยแต่ยังสังเกตและวัดค่าได้ซึ่งความแตกต่างของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นผลมาจากการที่ภายในชั้นหินกักเก็บมีค่าความนำไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลงไปนั่นเอง จากการวิเคราะห์ผลพบว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสามารถตรวจจับการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติของชั้นหินกักเก็บที่เปลี่ยนแปลงไปได้ ซึ่งทำการวิเคราะห์ผลหลังจากเริ่มอัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ลงไป 1.5 ปี, 3 ปี, 6 ปี, และ 10 ปี ที่ระดับความลึกของชั้นหินกักเก็บ 250 เมตร, 500 เมตร และ 1000 เมตร ตามลำดับ เราพบว่ายิ่งสัญญาณมีความถี่สูงขึ้นจะทำให้ความชัดเจนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตามความละเอียดจะลดลงเมื่อชั้นหินอยู่ลึกขึ้น |
en_US |
dc.language.iso |
en |
en_US |
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.rights |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.subject |
Gas reservoirs |
en_US |
dc.subject |
Natural gas -- Geology |
en_US |
dc.subject |
Geological carbon sequestration |
|
dc.subject |
Electromagnetic waves |
|
dc.subject |
แหล่งกักเก็บก๊าซ |
|
dc.subject |
ก๊าซธรรมชาติ -- ธรณีวิทยา |
|
dc.subject |
การกักเก็บคาร์บอนทางธรณีวิทยา |
|
dc.subject |
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า |
|
dc.title |
Controlled-source electromagnetic for 4D-monitoring of CO₂ storage in a geological reservoir |
en_US |
dc.title.alternative |
การตอบสนองของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ระยะเวลาที่เปลี่ยนไปในการเฝ้าติดตามการกักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นหินกักเก็บ |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.email.advisor |
thanop.t@chula.ac.th |
|
dc.email.advisor |
No information provided |
|
dc.email.advisor |
No information provided |
|
dc.email.advisor |
No information provided |
|
dc.email.author |
chumtong.p@hotmail.com |
|