DSpace Repository

Effect of formulation variables on physical properties and transfection efficiency of chitosan-dna nanoparticles

Show simple item record

dc.contributor.advisor Garnpimol c. Ritthidej
dc.contributor.advisor Vimolmas Lipipun
dc.contributor.author Ornsita Siribunchong
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Pharmaceutical Sciences
dc.date.accessioned 2017-09-28T09:05:21Z
dc.date.available 2017-09-28T09:05:21Z
dc.date.issued 2007
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53371
dc.description Thesis (M.Sc. In Pharm)--Chulalongkorn University, 2007 en_US
dc.description.abstract Chitosan-pDNA nanoparticles were prepared by using complex coacervation method. The effect of formulation variables, medium of chitosan, medium of pDNA and N/P ratio, on physical properties and transfection efficiency were examined. The particle size of the nanoparticles sharply decreased with increasing N/P ratio and became stable to constant value of 102-278 nm with PI in the range of 0.20-0.51. The zeta potential increased from negative charge to positive charge with increasing N/P ratio and finally increased to constant value in the range of +7.70 to +33.53 mV. The particle size and zeta potential were affected by all experimental variables. TEM images of nanoparticles showed that most nanoparticles had spherical shape, while a few particles had rod shape. The electrophoretic mobility analysis showed that the nanoparticles formation occurred at N/P ratio from 0.5:1 to 7:1 and the nanoparticles could render protection from deoxyribonuclease to pDNA. Flow cytometry and fluorescence microscopy were used to evaluate in vitro transfection efficiency in HeLa cells. The in vitro transfection efficiency of chitosan-pDNA nanoparticles was higher than that of naked pDNA and comparable to the positive control, LipofectamineTM Reagent. The N/P ratio and medium of pDNA affected transfection efficiency. MTT assay used in cell viability study demonstrated that chitosan did not affect the viability of HeLa cells. en_US
dc.description.abstractalternative งานวิจัยนี้ เตรียมไคโตซาน-ดีเอ็นเอ นาโนพาร์ทิเคิล ด้วยวิธี complex coacervation และศึกษาผลของตัวแปรสูตรตำรับ ได้แก่ ตัวทำละลายของไคโตซาน ตัวทำละลายของดีเอ็นเอ และ อัตราส่วนของไนโตรเจนต่อฟอสเฟต ต่อคุณสมบัติทางกายภาพ และประสิทธิภาพในการแทรนส์เฟกชันของ นาโนพาร์ทิเคิล พบว่าขนาดอนุภาคของพาร์ทิเคิลลดลงอย่างรวดเร็วเมื่อเพิ่มอัตราส่วนของไนโตรเจนต่อฟอสเฟต แล้วคงที่อยู่ในช่วง 102-278 นาโนเมตร และประจุที่พื้นผิวอนุภาคเพิ่มขึ้นจากค่าลบเป็นค่าบวกเมื่อเพิ่มอัตราส่วนของไนโตรเจนต่อฟอสเฟต แล้วคงที่อยู่ในช่วง +7.70 ถึง +33.53 มิลลิโวลต์ จากการศึกษาพบว่า ตัวทำละลายของไคโตซาน ตัวทำละลายของดีเอ็นเอ และ อัตราส่วนของไนโตรเจนต่อฟอสเฟตมีผลต่อขนาดอนุภาคและประจุที่พื้นผิวอนุภาค ผลจากการศึกษาเมื่อใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่านศึกษารูปร่างของไคโตซาน-ดีเอ็นเอ นาโนพาร์ทิเคิล พบว่าอนุภาคส่วนใหญ่มีรูปร่างเป็นทรงกลม และบางอนุภาคเป็นทรงรี เมื่อศึกษาการเคลื่อนที่ของอนุภาคในสนามไฟฟ้า พบว่าการประกอบเป็นนาโนพาร์ทิเคิลเกิดขึ้นตั้งแต่อัตราส่วนของไนโตรเจนต่อฟอสเฟต 0.5:1 ถึง 7:1 และนาโนพาร์ทิเคิลสามารถป้องกันดีเอ็นเอจากการถูกทำลายโดยเอนไซม์ดีออกซีไรโบ-นิวคลีเอสได้ จากการศึกษาโดยใช้ flow cytometer และกล้องจุลทรรศน์ฟลูออเรสเซนซ์ พบว่าประสิทธิภาพในการแทรนส์เฟกชันของนาโนพาร์ทิเคิลใน HeLa cells มากกว่าของดีเอ็นเอ และมีค่าใกล้เคียงกับ LipofectamineTM Reagent ซึ่งเป็นตัวควบคุมทางบวก นอกจากนี้ยังพบว่าตัวทำละลายของดีเอ็นเอ และ อัตราส่วนของไนโตรเจนต่อฟอสเฟตมีผลต่อประสิทธิภาพในการแทรนส์เฟกชันของ นาโนพาร์ทิเคิล เมื่อศึกษาความสามารถในการมีชีวิตอยู่ของ HeLa cells โดยวิธี MTT พบว่าไคโตซานไม่มีผลต่อการมีชีวิตอยู่ของเซลล์ en_US
dc.language.iso en en_US
dc.publisher Chulalongkorn University en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.112
dc.rights Chulalongkorn University en_US
dc.subject Chitosan en_US
dc.subject Nanoparticles en_US
dc.subject ไคโตแซน en_US
dc.subject ไคโตแซน en_US
dc.title Effect of formulation variables on physical properties and transfection efficiency of chitosan-dna nanoparticles en_US
dc.title.alternative ผลของตัวแปรสูตรตำรับต่อคุณสมบัติทางกายภาพและประสิทธิภาพในการแทรนส์เฟกชันของไคโตซาน-ดีเอ็นเอ นาโนพาร์ทิเคิล en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name Master of Science in Pharmacy en_US
dc.degree.level Master's Degree en_US
dc.degree.discipline Industrial Pharmacy en_US
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en_US
dc.email.advisor No information provided
dc.email.advisor lvimolma@chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2007.112


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

  • Pharm - Theses [1269]
    วิทยานิพนธ์ คณะเภสัชศาสตร์

Show simple item record