dc.contributor.advisor |
ฐานบ ธิติมากร |
|
dc.contributor.author |
กิตติภพ กวางทอง |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.coverage.spatial |
สระบุรี |
|
dc.date.accessioned |
2017-09-28T11:24:36Z |
|
dc.date.available |
2017-09-28T11:24:36Z |
|
dc.date.issued |
2557 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53381 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2557 |
en_US |
dc.description.abstract |
จากปัญหาการเพิ่มขึ้นของประชากรในพื้นที่อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี ทำให้เกิดมีความต้องการในการใช้นํ้าเพิ่มสูงขึ้นจนมีปัญหาการขาดแคลนนํ้าไว้ใช้ในการอุปโภคและบริโภค จึงทำให้มีความต้องการที่จะมีการพัฒนาบ่อบาดาลเพื่อนำมาใช้เพื่อช่วยลดปัญหาการขาดแคลนนํ้าในพื้นที่ งานวิจัยนี้มุ่งทำการสำรวจหาลักษณะทางอุทกธรณีวิทยาของพื้นที่รอบโครงการพัฒนาที่ดินจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี ด้วยการประยุกต์วิธีการสำรวจทางธรณีฟิสิกส์ด้วยวิธีการวัดค่าความต้านทานไฟฟ้าแบบความต้านทานไฟฟ้าหยั่งลึก(Vertical Electrical Sounding, VES) โดยการวางขั้วแบบ Wenner-Schlumberger array เพื่อศึกษาศักยภาพนํ้าบาดาล(Groundwater Potential)ในพื้นที่ดังกล่าว โดยมีความลึกในการสำรวจ 100 เมตร ซึ่งหลังจากเก็บข้อมูลค่าความต้านทานไฟฟ้าผู้วิจัยได้ทำการสร้างภาพตัดขวางจากข้อมูลค่าความต้านทานไฟฟ้า และแบบจำลองเชิงมโนทัศน์ จากการเปรียบเทียบข้อมูลบ่อบาดาลของกรมทรัพยากรนํ้าบาดาล ได้ข้อสรุปว่าในพื้นที่ศึกษามีลักษณะทางธรณีวิทยาทั้งหมด 3 ชั้น ได้แก่ ชั้น Top Soil, ชั้น Sand และ Fractured volcanic rock โดยชั้นที่เป็นชั้นนํ้าบาดาลของพื้นที่นี้มี 2 ชั้นได้แก่ชั้น Sand และ Fractured volcanic rock ซึ่งพบได้ที่ความลึกประมาณ 25 - 65 เมตรและ ที่ความลึกมากกว่า 65 เมตร โดยเฉลี่ยในพื้นที่นี้ ซึ่งเป็นชั้นนํ้าที่มีศักยภาพในการพัฒนาเป็นบ่อบาดาล |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
An increasing of population in Amphoe Kaeng Khoi, Changwat Saruburi caused high demand of water resources. Finally, there will be a shortage of water resources for consumption. It needs to be developed artesian well to reduce the problem water scarcity in this area. This research aims to survey the aquifer characteristic in Chulalongkorn University land development project, Amphoe Kaeng Khoi, Changwat Saraburi area. With the application of geophysical methods called Vertical Electrical Sounding(VES) by using Wenner-Schlumberger array, the groundwater potential in this area can be characterized and evaluated. The in-depth survey of 100 meters could be achieved using this technique. After data collection, the pseudo cross section of the resistivity data and conceptual model were developed. By comparing the data from the Department of water resources and this study, it was concluded that in the study area three geological units can be identified. There were top soil layer, sand layer, and fractured volcanic rock layer. Sand unit and fractured volcanic rock unit are considered to be potential aquifers of the area. They were found at a depth of about 25 - 65 meters and at a depth of over 65 meters respectively. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1403 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
น้ำบาดาล -- ไทย -- สระบุรี |
en_US |
dc.subject |
ชั้นน้ำบาดาล -- ไทย -- สระบุรี |
en_US |
dc.subject |
อุทกธรณีวิทยา -- ไทย -- สระบุรี |
en_US |
dc.subject |
ความต้านทานไฟฟ้า -- ไทย -- สระบุรี |
en_US |
dc.subject |
การสำรวจทางธรณีฟิสิกส์ -- ไทย -- สระบุรี |
en_US |
dc.subject |
Groundwater -- Thailand -- Saraburi |
en_US |
dc.subject |
Aquifers -- Thailand -- Saraburi |
en_US |
dc.subject |
Hydrogeology -- Thailand -- Saraburi |
en_US |
dc.subject |
Electric resistance -- Thailand -- Saraburi |
en_US |
dc.subject |
Geophysical surveys -- Thailand -- Saraburi |
en_US |
dc.title |
การสำรวจนํ้าบาดาลด้วยวิธีวัดค่าความต้านทานไฟฟ้าบริเวณ อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี |
en_US |
dc.title.alternative |
Exploration of groundwater using electrical resistivity method in Amphoe Kaeng Khoi, Changwat Saraburi |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.email.advisor |
thanop.t@chula.ac.th |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2014.1403 |
|