dc.contributor.advisor |
หทัย แซ่เจี่ย |
|
dc.contributor.author |
พิชญา ชูสกุลกานต์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2017-10-01T11:41:11Z |
|
dc.date.available |
2017-10-01T11:41:11Z |
|
dc.date.issued |
2557 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53394 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557 |
en_US |
dc.description.abstract |
การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาลักษณะโครงสร้างของสำนวนที่มีคำว่า “ren” (人) ในภาษาจีน และวิเคราะห์เปรียบเทียบความหมายของสำนวนที่มีคำว่า “ren” ในภาษาจีนกับ “คน” ในภาษาไทยเพื่อให้เห็นถึงลักษณะที่เหมือนกันและแตกต่างกันของทั้งสองภาษา ผลการวิจัยพบว่า ลักษณะโครงสร้างของสำนวนที่มีคำว่า “ren” ในภาษาจีนปรากฏค่อนข้างหลากหลาย สรุปได้เป็น 2 ประเภทใหญ่คือ โครงสร้างพยางค์ในสำนวนและโครงสร้างทางไวยากรณ์ อนึ่ง โครงสร้างทางไวยากรณ์ของสำนวนที่มีคำว่า “ren” ในภาษาจีนสามารถแบ่งได้เป็น 2 ชนิดคือ 1) โครงสร้างแบบเอกรรถประโยค 2) โครงสร้างแบบอเนกรรถประโยค ผลจากการศึกษาเปรียบเทียบความหมายของสำนวนที่มีคำว่า “ren” ในภาษาจีนกับ “คน” ในภาษาไทยสามารถแบ่งประเภทตามการสื่อความหมายของสำนวนทั้งสองภาษา สรุปได้ว่า การสื่อความของสำนวนทั้งสองภาษาปรากฏทั้งลักษณะที่คล้ายคลึงกันและแตกต่างกันตามสภาพปัจจัยของชนแต่ละสังคม ทั้งนี้สำนวนที่มีคำว่า “ren” ในภาษาจีนมีการสื่อความของสำนวนได้หลากหลายกว่าสำนวนที่มีคำว่า “คน” ในภาษาไทย อนึ่ง การศึกษาสำนวนที่มีคำว่า “ren” ในภาษาจีนกับ “คน” ในภาษาไทยยังแสดงให้เห็นถึงความเหมือนและความแตกต่างของการเลือกใช้คำในสำนวน อันสะท้อนให้เห็นถึงประวัติความเป็นมาของสำนวนทั้งสองภาษาและวัฒนธรรม ตลอดจนวิถีชีวิตของคนทั้งสองชนชาติ |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The objective of this research is to study the idiom structures that contain the Chinese word “ren” (人), and to comparatively analyze with the Thai word “khon” in order to express its similarities and differences of both languages. The study shows that the Chinese idioms with the word “ren” are seen variously and grouped into 2 types of sentences; which are 1) Simple sentences and 2) Compound and complex sentences. The result from comparing Chinese idioms that contain the word “ren” and the word “khon” in Thai can be categorized by the medium of the two languages and shown the similarities and differences based on the factor of each society. However, the Chinese idioms with the word “ren” can convey more meanings than Thai idioms with the word “khon” This study of Chinese idioms with the word “ren” and “khon” in Thai not only shows the similarities but also differentiates the way they use idioms which reflects their history and cultures of these two languages as well as the people’s lifestyle. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1407 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
คำ (ภาษาศาสตร์) |
en_US |
dc.subject |
ภาษาศาสตร์เปรียบเทียบ |
en_US |
dc.subject |
ภาษาจีน -- สำนวนโวหาร |
en_US |
dc.subject |
ภาษาไทย -- สำนวนโวหาร |
en_US |
dc.subject |
Word (Linguistics) |
en_US |
dc.subject |
Comparative linguistics |
en_US |
dc.subject |
Chinese language -- Idioms |
en_US |
dc.subject |
Thai language -- Idioms |
en_US |
dc.title |
การศึกษาเปรียบเทียบสำนวนที่มีคำว่า “ren” ในภาษาจีนกับ “คน” ในภาษาไทย |
en_US |
dc.title.alternative |
A comparative study of idiomatic expressions containing the words “REN” in Chinese and “KHON” in Thai |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
อักษรศาสตรมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
ภาษาจีน |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2014.1407 |
|