DSpace Repository

ลักษณะเฉพาะของมิลานจ์หินดินดานในหน่วยหินซับซ้อนพอกพูนสระแก้ว-จันทบุรีบริเวณบ้านหนองบอน จังหวัดจันทบุรี

Show simple item record

dc.contributor.advisor วิชัย จูฑะโกสิทธิ์กานนท์
dc.contributor.advisor ฮิซาดะ, เคน-อิชิโร
dc.contributor.author ไกร วิเศษณัฐ
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2017-10-19T06:34:59Z
dc.date.available 2017-10-19T06:34:59Z
dc.date.issued 2557
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53556
dc.description โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2557 en_US
dc.description.abstract งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาลักษณะเฉพาะของมิลานจ์หินดินดานในหน่วยหินบ้านหนองบอน ซึ่งเป็นส่วน หนึ่งของหน่วยหินซับซ้อนพอกพูนสระแก้ว-จันทบุรี มีพื้นที่ศึกษาอยู่ที่หลักกิโลเมตรที่ 21+200 ริมเส้นทางหลวง หมายเลข 3193 บริเวณบ้านหนองบอน อำเภอโป่งน้ำร้อน จังหวัดจันทบุรี โดยมีจุดประสงค์เพื่อพิสูจน์ความ คลุมเครือในลักษณะของหินโผล่มิลานจ์หินดินดานตามที่ Chutakositkanon (2004) และ Chutakositkanon and Hisada (2008) ได้นาเสนอไว้ รวมถึงการวิเคราะห์หินตั้งต้น และสภาพแวดล้อมการเกิดของหินตั้งต้นก่อนเกิดเป็น มิลานจ์หินดินดาน วิวัฒนาการการเกิดมิลานจ์หินดินดาน และธรณีแปรสัณฐานของพื้นที่ศึกษา จากผลการศึกษาซึ่งประกอบด้วยการศึกษาลักษณะทางกายภาพของหินโผล่ การศึกษาศิลาวรรณนา และธรณีเคมีของบล็อกหิน และการศึกษาโครงสร้างทางธรณีวิทยา พบว่าหินโผล่ในพื้นที่ศึกษามีลักษณะของ บล็อกหินหลายชนิด ได้แก่ บล็อกหินทราย บล็อกหินปูน บล็อกหินเชิร์ต และบล็อกหินบะซอลต์ในหินพื้นดินดาน ซึ่งแสดงริ้วขนาน และโครงสร้างแรงเฉือน สอดคล้องกับลักษณะของมิลานจ์หินดินดานแบบฉบับ โดยมี สภาพแวดล้อมของหินตั้งต้นของบล็อกหินแต่ละชนิดแตกต่างกัน ได้แก่ บล็อกหินทรายอยู่ในสภาพแวดล้อมทาง ธรณีแปรสัณฐานแบบขอบทวีปมีพลัง บล็อกหินปูนอยู่ในสภาพแวดล้อมมหาสมุทรบริเวณน้ำตื้นบล็อกหินเชิร์ต อยู่ในสภาพแวดล้อมแบบพื้นก้นมหาสมุทร และบล็อกหินบะซอลต์สันนิษฐานว่าเป็นหินบะซอลต์รูปหมอนเกิด บริเวณพื้นก้นมหาสมุทร โดยสันนิษฐานว่าหินตั้งต้นที่ได้กล่าวมานี้มีอายุในช่วงยุคเพอร์เมียน จากนั้นเกิดการพอก ติดจากการมุดตัวของแผ่นเปลือกโลกมหาสมุทรลงใต้แผ่นเปลือกโลกทวีปอินโดจีน เกิดเป็นมิลานจ์หินดินดานของ หน่วยหินบ้านหนองบอนในช่วงยุคเพอร์โมไทรแอสซิกถึงไทรแอสซิกตอนต้น ทั้งนี้จากการวิเคราะห์ทิศทางแรง กระทำหลักเฉพาะของพื้นที่ศึกษา บ่งชี้ว่ามีทิศทางในแนวตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งในส่วนนี้ยังไม่ สามารถสรุปทิศทางแรงกระทำหลักจากกระบวนการทางธรณีแปรสัณฐานของทั้งหน่วยหินบ้านหนองบอนได้ อันเนื่องมาจากข้อจำกัดของงานวิจัยนี้ en_US
dc.description.abstractalternative The aim of this senior project is to study the characteristics of shale mélange in Ban Nong Bon Unit which is a part of Sa Kaeo-Chanthaburi Accretionary Complex. The study area located at km. 21+200 on the Highway 3193, Pong Nam Ron district, Chanthaburi province. The main objectives are to clarify the characteristics of shale mélange reported by Chutakositkanon (2004) and Chutakositkanon and Hisada (2008) and to analyze lithology and provenance environment of parent rocks before deformation of shale mélange, and finally evolution of shale mélange and tectonic events of the study area. Regarding these studies of physical characteristics of outcrop study, petrography, geochemistry and geological structure, the rocks in the area has various lithological blocks such as sandstone block, limestone block, chert block, basalt block in shale matrix displaying strong foliation and shear structure. These features are quite corresponding to typical shale mélange’s characteristics. There are distinguished environments of each block. Sandstone blocks were in the active continental margin. Limestone blocks were deposited in the shallow-marine environment. Chert blocks were formed in the deep-oceanic floor environment. And basalt blocks were possibly the pillow basalt in oceanic floor environment. The age of these parent rocks is probably Permian Period. And then these parent rock were accreted due to the subduction of oceanic plate underneath continental Indochina plate and become the shale mélange of Ban Nong Bon unit during Permo-Triassic to Early Triassic. The result of stress analysis in the study area indicates the main compression in the Northwest-Southeast (NW-SE) direction. However, the direction of major stress of the entire Ban Nong Bon unit can not be analyzed due to this area limitation en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1418
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject หินดินดาน -- ไทย -- จันทรบุรี en_US
dc.subject หินชั้น -- ไทย -- จันทรบุรี en_US
dc.subject ธรณีสัณฐาน -- ไทย -- จันทรบุรี en_US
dc.subject Shale -- Thailand -- Chanthaburi en_US
dc.subject Melanges (Petrology) -- Thailand -- Chanthaburi en_US
dc.subject Sedimentary rocks -- Thailand -- Chanthaburi en_US
dc.subject Landforms -- Thailand -- Chanthaburi en_US
dc.title ลักษณะเฉพาะของมิลานจ์หินดินดานในหน่วยหินซับซ้อนพอกพูนสระแก้ว-จันทบุรีบริเวณบ้านหนองบอน จังหวัดจันทบุรี en_US
dc.title.alternative Characteristics of shale melange in the Sa Kaeo-Chanthaburi accretionary complex at Ban Nong Bon area, Changwat Chanthaburi en_US
dc.type Senior Project en_US
dc.email.advisor vichaic@yahoo.com
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2014.1418


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record