dc.contributor.advisor |
Sirichai Adisakwattana |
|
dc.contributor.advisor |
Nipattra Suanpairintr |
|
dc.contributor.advisor |
Manuel Alejandro Barbieri |
|
dc.contributor.author |
Poramin Chayaratanasin |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Veterinary Science |
|
dc.date.accessioned |
2017-10-30T04:20:12Z |
|
dc.date.available |
2017-10-30T04:20:12Z |
|
dc.date.issued |
2016 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/54838 |
|
dc.description |
Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2016 |
|
dc.description.abstract |
This study was aimed to determine the inhibitory effects of Clitoria ternatea extract (CTE) on glycation of BSA, oxidative DNA damage, and adipogenesis mediated by methylglyoxal (MG). The results showed that polyphenols in CTE identified by LC-MS/MS were ternatins, delphinidin derivatives, quercetin-3-rutinoside, apigenin-7-O-neohesperidoside , Kaemferol-3-O-rutinoside, (+)-catechin-7-O-b-glucoside, and syringetin-3-O-glucoside. CTE (250-1,000 µg/mL) significantly inhibited fructose- and MG-induced formation of fluorescent, non-fluorescent AGEs, fructosamine, amyloid cross β structure, protein carbonyl content and preventing free thiol depletion in BSA system. CTE (250-1,000 µg/mL) suppressed oxidative DNA strand breakage through inhibition of superoxide anion and hydroxyl radical production in 2,2'-Azobis(2-amidinopropane) dihydrochloride (AAPH) and MG/lysine system. The mechanisms of anti-glycation of CTE are a direct carbonyl trapping ability and free radical scavenging activity. In early phase, CTE (500-1,000 µg/mL) inhibited MG-mediated adipogenesis through suppression of cell proliferation related to Akt and ERK1/2 signaling pathway in 3T3-L1 preadipocytes. In late stage of adipogenesis, CTE inhibited MG-induced expression of adipogenic transcription factors including PPARγ and C/EBPα and subsequently down-regulation of fatty acid synthase (FAS) and acetyl-CoA carboxylase (ACC), causing the reduction of TG accumulation in mature adipocytes. When the cells were incubated without MG, CTE (500-1,000 µg/mL) treatment markedly decreased cell differentiation through Akt and ERK1/2 signaling pathway in the early stage of adipogenesis together with suppression of mRNA expression of adipogenic genes (PPARγ and C/EBPα) in late stage of adipogenesis. Furthermore, CTE could enhance lipolysis in mature adipocytes. The inhibition of MG-induced adipogenesis by CTE was due to its effects on the regulation of Akt and ERK1/2 signaling pathway and adipogenic transcription factors and the direct MG trapping ability. This study indicates that CTE can be a potential candidate for the prevention of protein glycation and adipogenesis. |
|
dc.description.abstractalternative |
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดจากดอกอัญชันในการต้านปฏิกิริยาไกลเคชั่นที่เกิดในโปรตีนอัลบูมินจากซีรัมของวัว การเกิดออกซิเดชั่นของดีเอ็นเอ และการเกิดอะดิโพเจนนิซิสเซลล์ไขมันจากการเหนี่ยวนำด้วยเมทิลไกลออกซอล ผลการศึกษาพบว่าสารสกัดจากดอกอัญชันประกอบด้วยสารโพลีฟีนอลที่สำคัญได้แก่ เทอร์นาทิน อนุพันธ์ของเดลฟินิดิน ควอเซติน-3-รูติโนไซต์ อะพิเจนนิน-7-นีโอเฮสเพอริโดไซด์ คาเอมเฟอรอล-3-รูติโนไซต์ คาเทชิน-7-กลูโคไซด์ และไซรินเจติน-3-กลูโคไซด์ สารสกัดจากดอกอัญชันที่ความเข้มข้น 250-1,000 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตรสามารถยับยั้งการเหนี่ยวนำของเมทิลไกลออกซอลและน้ำตาลฟรุกโตสในการสร้างสารประกอบเชิงซ้อนในขั้นตอนสุดท้ายของปฏิกิริยาไกลเคชั่นทั้งชนิดที่เรืองแสงและไม่เรืองแสง การเกิดฟรุกโตซามีน โครงสร้างอะไมลอยด์ครอสเบต้า ปฏิกิริยาออกซิเดชั่นโดยลดการเติมหมู่คาร์บอนิลและลดการสูญเสียหมู่ไทออลในโปรตีนจากการเหนี่ยวนำด้วยเมทิลไกลออกซอลและน้ำตาลฟรุกโตส นอกจากนี้ยังสามารถยับยั้งความเสียหายออกซิเดชั่นของดีเอ็นเอโดยผ่านการยับยั้งการเกิดอนุมูลอิสระซุปเปอร์ออกไซด์และไฮดรอกซิลจากระบบของเมทิลไกลออกซอลและไลซีนและระบบเอเอพีเอช กลไกในการยับยั้งปฏิกิริยาไกลเคชั่นของสารสกัดดอกอัญชันคือการจับกับสารประกอบคาร์บอนิลและขจัดอนุมูลอิสระ สารสกัดจากดอกอัญชันที่ความเข้มข้น 500-1,000 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร สามารถยับยั้งกระบวนการอะดิโพเจนนิซิสที่เหนี่ยวนำด้วยเมทิลไกลออกซอลในระยะต้นของเซลล์ไขมันชนิด 3T3-L1 โดยผ่านการลดการสร้างของเซลล์ไขมันซึ่งกระตุ้นผ่านทาง Akt และ ERK1/2 ส่วนในระยะท้ายของกระบวนการอะดิโพเจนนิซิสนั้น สารสกัดจากดอกอัญชันสามารถลดอะดิโพเจนนิก ทรานคริปชั่นแฟคเตอร์ (adipogenic transcription factors) ได้แก่ PPARγ และ C/EBPα ส่งผลให้มีการลดลงของเอนไซม์ที่ใช้ในการสร้างไขมันไตรกลีเซอไรด์ ได้แก่ FAS และ ACC และมีผลให้การสะสมของไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเซลล์ไขมันที่โตเต็มวัยลดลง ในเซลล์ไขมันที่ไม่ได้มีการเหนี่ยวนำจากเมทิลไกลออกซอล สารสกัดจากดอกอัญชันที่ความเข้มข้น 500-1,000 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตรสามารถยับยั้งการสร้างเซลล์ไขมันผ่านทาง Akt และ ERK1/2 ในระยะต้นร่วมกับการลดลงของการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเซลล์ไขมัน PPARγ และ C/EBPα ในระยะท้ายของกระบวนการอะดิโพเจนนิซิส นอกจากนี้สารสกัดจากดอกอัญชันยังสามารถเพิ่มการสลายไขมันในเซลล์ไขมันที่โตเต็มวัย ในการยับยั้งกระบวนการอะดิโพเจนนิซิสที่เหนี่ยวนำด้วยเมทิลไกลออกซอลของสารสกัดจากดอกอัญชันเกิดจากความสามารถในการควบคุม Akt และ ERK1/2 อะดิโพเจนนิก ทรานคริปชั่นแฟคเตอร์ และความสามารถในการดักจับสารเมทิลไกลออกซอลโดยตรงจากการศึกษานี้พบว่าสารสกัดจากดอกอัญชันมีศักยภาพในการนำมาเป็นสารป้องกันปฏิกิริยาไกลเคชั่นและกระบวนการอะดิโพเจนนิซิส ได้ |
|
dc.language.iso |
en |
|
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
|
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.1897 |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
|
dc.title |
PREVENTIVE EFFECTS OF CLITORIA TERNATEA EXTRACT ON METHYLGLYOXAL-INDUCED PROTEIN GLYCATION, OXIDATIVE DNA DAMAGE AND ADIPOGENESIS |
|
dc.title.alternative |
ฤทธิ์ของสารสกัดจากดอกอัญชันในการป้องกันการเกิดไกลเคชันของโปรตีน ความเสียหายออกซิเดชันของดีเอ็นเอ และการสร้างเซลล์ไขมันที่ถูกเหนี่ยวนำด้วยเมทิลไกลออกซอล |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
Doctor of Philosophy |
|
dc.degree.level |
Doctoral Degree |
|
dc.degree.discipline |
Veterinary Biosciences |
|
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
|
dc.email.advisor |
Sirichai.A@Chula.ac.th,sirichai.a@chula.ac.th |
|
dc.email.advisor |
No information provided |
|
dc.email.advisor |
barbieri@fiu.edu |
|
dc.identifier.DOI |
10.58837/CHULA.THE.2016.1897 |
|