DSpace Repository

PALEOENVIRONMENTS OF KHAO SAM ROI YOT NATIONAL PARK,CHANGWAT PRACHUAP KHIRI KHAN: EVIDENCE FROMPALEONTOLOGY, STRATIGRAPHY AND QUATERNARY DATING

Show simple item record

dc.contributor.advisor Punya Charusiri
dc.contributor.advisor Montri Choowong
dc.contributor.author Peerasit Surakiatchai
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Science
dc.date.accessioned 2017-10-30T04:35:14Z
dc.date.available 2017-10-30T04:35:14Z
dc.date.issued 2016
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55292
dc.description Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2016
dc.description.abstract Khao Sam Roi Yot area and nearby consists of beach ridges and swales extending from Pran Buri, Sam Roi Yot to Kui Buri. Dating of sediment was carried out in this study by optically stimulated luminescence dating (OSL). Sediment samples were collected from 12 transects, including 48 samples at 3.8 km from the present shoreline. Total 10 samples of oyster shells collected from sea notch with the height 2.6 m from mean sea level were dated by carbon-14. Additional 25 stratigraphic columns from 9 transects were also carried out. As a result, the age of sediments around Kui Buri was between 880-7,940 years ago, at Sam Roi Yot of 1,940-6,260 years ago, and at Pran Buri, the age was at 1,850-10,200 years ago. Oyster shells from sea notch provide the age between 366-5,476 years ago. More than 57 species of molluscan, gastropods 12 species and bivalve 45 species were identified. They indicate mangrove environment to intertidal zone. The inner part of paleo-shoreline is located at 3.8 km from recent shoreline and about 2.6 m above men sea level. Environment has changed from mangroves to intertidal zone and then gradually to accumulate the ridges and swales periodically continues to recent shoreline. Paleo-landforms include coastal bay, a beach ridge plain and tombolos. The semi-circle paleo-coastal bay was also found. These new results suggest that the progradation of the SRY coastal plain came to a stillstand twice, between the middle and late Holocene. In addition, the beach ridge plain gradually advanced toward the sea in the east direction.
dc.description.abstractalternative บริเวณเขาสามร้อยยอด และพื้นที่ใกล้เคียง มีแนวสันทรายและร่องทอดตัวยาวตั้งแต่ปราณบุรี สามร้อยยอด จนถึงกุยบุรี ซึ่งผลการศึกษาโดยการหาอายุตะกอนสันทรายด้วยการวิเคราะห์อายุด้วยเทคนิคการวัดการเรืองแสงเชิงแสง จากแนวเก็บตัวอย่าง 12 แนว จำนวน 48 ตัวอย่าง ไกลจากชายฝั่งทะเลปัจจุบันมากที่สุด 3.8 กิโลเมตร และการหาอายุด้วยวิธีคาร์บอน-14 จากเปลือกหอยนางรมเก็บจากเว้าทะเลใน 6 พื้นที่ จำนวน 10 ตัวอย่าง ที่ระดับเว้าทะเลที่สูงสุดประมาณ 2.6 เมตร ได้ทำแท่งลำดับชั้นตะกอน ทั้งหมด 9 แนว 25 แท่ง และเก็บเปลือกหอยมาจำแนกชนิดจากทั้งหมด 11 พื้นที่ ผลการศึกษาพบว่าอายุตะกอนที่ได้บริเวณกุยบุรีมีอายุตั้งแต่ 880-7,940 ปี สามร้อยยอดมีอายุตั้งแต่ 1,940-6,260 ปี และปราณบุรีมีอายุตั้งแต่ 1,850-10,200 ปี เปลือกหอยนางรมมีอายุตั้งแต่ 366-5,476 ปี ซึ่งทั้งหมดอยู่ในสมัยโฮโลซีน จากแท่งลำดับชั้นพบว่าตะกอนส่วนใหญ่เป็นตะกอนทรายที่ความลึก 1 เมตร ลงไปพบเศษเปลือกหอยหรือเปลือกหอยที่สมบูรณ์ และเปลือกหอยสามารถจำแนกได้ทั้งหมด 57 ชนิด แบ่งเป็นหอยฝาเดียว 12 ชนิด และหอยสองฝา 45 ชนิด เปลือกหอยส่วนใหญ่ที่ได้สามารถระบุสภาพแวดล้อมว่าเป็นป่าชายเลน บริเวณน้ำขึ้น-ลง ผลทั้งหมดสรุปได้ว่าแนวชายฝั่งทะเลโบราณในพื้นที่ศึกษาเกิดในสมัยโฮโลซีน โดยอยู่ลึกเข้าไป 3.8 กิโลเมตรจากชายฝั่งทะเลปัจจุบัน และสูงประมาณ 2.6 เมตร จากระดับทะเลปัจจุบัน โดยเคยเป็นป่าชายเลนจนถึงชายฝั่งทะเลบริเวณน้ำขึ้น-ลง มีการสะสมตัวเป็นสันทรายสลับกับร่องเป็นช่วงเรื่อยมาจนถึงแนวชายฝั่งปัจจุบัน ภูมิประเทศโบราณมีหลากหลาย คือเป็นชายฝั่งที่เป็นอ่าว แนวสันทราย สันดอนเชื่อมเกาะ และเว้าทะเลในช่วงตอนกลางสมัยโฮโลซีน และเป็นที่ราบน้ำขึ้นถึงเกิดหลังจากสันดอนเชื่อมเกาะ และเว้าทะเลสมัยตอนปลายโฮโลซีน
dc.language.iso en
dc.publisher Chulalongkorn University
dc.relation.uri http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.1603
dc.rights Chulalongkorn University
dc.title PALEOENVIRONMENTS OF KHAO SAM ROI YOT NATIONAL PARK,CHANGWAT PRACHUAP KHIRI KHAN: EVIDENCE FROMPALEONTOLOGY, STRATIGRAPHY AND QUATERNARY DATING
dc.title.alternative สภาพแวดล้อมบรรพกาลของอุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์:หลักฐานจาก บรรพชีวินวิทยา การลำดับชั้นหินและการหาอายุในยุคควอเทอร์นารี
dc.type Thesis
dc.degree.name Doctor of Philosophy
dc.degree.level Doctoral Degree
dc.degree.discipline Geology
dc.degree.grantor Chulalongkorn University
dc.email.advisor Punya.C@Chula.ac.th,punya.c@chula.ac.th
dc.email.advisor Montri.C@Chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.58837/CHULA.THE.2016.1603


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record