dc.contributor.advisor |
Peter Xenos |
|
dc.contributor.author |
Shakina Sultana |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. College of Public Health Sciences |
|
dc.date.accessioned |
2017-10-30T04:49:24Z |
|
dc.date.available |
2017-10-30T04:49:24Z |
|
dc.date.issued |
2016 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55753 |
|
dc.description |
Thesis (M.P.H.)--Chulalongkorn University, 2016 |
|
dc.description.abstract |
Unsustainable household environmental factors influences the risk of children under 5 morbidities. The prevalence of childhood Acute respiratory infection(ARI) and diarrhea considerably high in Bangladesh. The objective of this study to compare the associations of household environmental factors and ARI and diarrhea among child 5 years in Bangladesh The data were obtained from a MICS survey at national level about child among child under 5 years in Bangladesh conducted by the UNICEF in 2012-2013. Women aged between 15 and 49 years living in selected households provided information on 20903 of their children under the age of 5 years. Primary outcome measure the morbidity status of the children was recorded with respect to episodes of diarrhea and ARI in the 2 weeks preceding data collection The factors associated with ARI were: child age 6-11months OR: 1.86; p :<0.001, Chittagong and Khulna divisions :2 poor household OR :1.5; p:<0.001, In case of diarrhea were: child age 12-35months OR: 5.2; p:<0.001; source of drinking water OR :1.7; p:0.001; location of water source OR :1.3; P: 0.015; types of toilet facility OR: 1.3; p:0.001; shared sanitation OR: 1.2; p:0.02. Results from this research underline the importance of developing and implementing strategic plans to reduce poverty level and improve household environment in Bangladesh. Preventive measurements acquire more to lower the risk of both ARI and diarrhea in very early age group of children. Promoting hygienic water and sanitation facilities can help reduce the prevalence of childhood diarrhea. However, these strategies need to be integrated with health education in primary level raise the likelihood that reduced risks are acute respiratory infections. |
|
dc.description.abstractalternative |
หลักการและเหตุผล: ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมของที่อยู่อาศัยที่ไม่ยั่งยืนมีอิทธิพลต่อความเสี่ยงต่ออัตราการป่วยในเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 5 ปี การขยายตัวของการติดเชื้อทางเดินหายใจเฉียบพลันในวัยเด็ก (ARI) และโรคอุจจาระร่วงในประเทศบังคลาเทศที่สูงมาก การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสัมพันธ์ของปัจจัยแวดล้อมในครัวเรือนกับการติดเชื้อทางเดินหายใจเฉียบพลันในวัยเด็ก (ARI) และโรคอุจจาระร่วงในเด็กอายุ 5 ปี ในประเทศบังคลาเทศ วิธีการวิจัย: การวิจัยนี้ได้ใช้ข้อมูลจากการสำรวจของ MICS ในระดับประเทศ เกี่ยวกับเด็กในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ในประเทศ บังคลาเทศ ซึ่งดำเนินการโดยองค์การยูนิเซฟในช่วงปี พ.ศ. 2555-2556 โดยผู้หญิงที่มีอายุระหว่าง 15 ถึง 49 ปี ในครัวเรือน ที่เลือกไว้ได้ให้ข้อมูล 20903 เกี่ยวกับเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี และใช้เวลา 2 สัปดาห์ ในการเก็บรวบรวมและบันทึก ข้อมูลของผลการตรวจวัดเบื้องต้นของอัตราการป่วยของเด็กที่ป่วยเป็นโรคอุจจาระร่วงและอาเจียน ผลการวิจัย: ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับ ARI ได้แก่ อายุเด็ก 6-11 เดือน มีอัตราส่วนออด (Odds Ratio) เท่ากับ 1.86 และมี ค่า p <0.001 ในเขตจิตตะกองและชุลนมี 2 ครัวเรือนที่ยากจน มีอัตราส่วนออด (Odds Ratio) เท่ากับ 1.5 และมีค่า p <0.001 กรณีที่มีอาการท้องร่วง คือเด็กอายุ 12-35 เดือน มีอัตราส่วนออด (Odds Ratio) เท่ากับ 5.2 และมีค่า P <0.001 แหล่งน้ำดื่ม มีอัตราส่วนออด (Odds Ratio) เท่ากับ 1.7 มีค่า P เท่ากับ 0.001 ที่ตั้งของแหล่งน้ำ มีอัตราส่วนออด (Odds Ratio) เท่ากับ 1.3 และมีค่า P เท่ากับ 0.015 ประเภทของห้องสุขา มีอัตราส่วนออด (Odds Ratio) เท่ากับ1.3 และมีค่า P เท่ากับ 0.001 สุขาภิบาลที่ใช้ร่วมกัน มีอัตราส่วนออด (Odds Ratio) เท่ากับ1.2 และมีค่า P เท่ากับ 0.02 ผลสรุป: ผลจากการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นถึงความสำคัญของการพัฒนาและดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์เพื่อลดระดับ ความยากจนและปรับปรุงสภาพแวดล้อมของครอบครัวในประเทศบังคลาเทศ การวัดเชิงป้องกันควรมีมากขึ้นเพื่อลดความ เสี่ยงทั้ง ARI และโรคอุจจาระร่วงในเด็กวัยแรกเกิดที่อายุน้อยมาก การส่งเสริมสุขอนามัยด้านน้ำและสุขาภิบาลสามารถช่วย ลดความแพร่หลายของโรคอุจจาระร่วงในวัยเด็กได้ อย่างไรก็ตาม กลยุทธ์เหล่านี้จำเป็นต้องรวมเข้ากับการศึกษาด้านสุขภาพในระดับ ปฐมภูมิ เพื่อที่จะทำให้โอกาสที่ความเสี่ยงของการติดเชื้อทางเดินหายใจเฉียบพลันลดลง คำสำคัญ: สภาพแวดล้อมในครัวเรือน การติดเชื้อเฉียบพลันระบบทางเดินหายใจ โรคอุจจาระร่วง MICS |
|
dc.language.iso |
en |
|
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
|
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.1852 |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
|
dc.title |
Household environmental factors towards Acute respiratory infection & Diarrhea of child under 5 in Bangladesh. A secondary analysis of Bangladesh Multiple Indicator Cluster Survey 2012-2013 |
|
dc.title.alternative |
ปัจจัยสิ่งแวดล้อมในบ้านที่มีความสัมพันธ์กับโรคติดเชื้อทางเดินหายใจเฉียบพลันและโรคท้องร่วงในกลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ประเทศบังกลาเทศ: ข้อมูลทุติยภูมิจากการสำรวจพหุดัชนีแบบจัดกลุ่ม ปี 2012-2013 ประเทศบังกลาเทศ |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
Master of Public Health |
|
dc.degree.level |
Master's Degree |
|
dc.degree.discipline |
Public Health |
|
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
|
dc.email.advisor |
Peter.X@chula.ac.th,xenosp@hawaii.edu,xenosp@gmail.com |
|
dc.identifier.DOI |
10.58837/CHULA.THE.2016.1852 |
|