DSpace Repository

TRANSPORTATION BARRIERS ON HEALTHCARE UTILIZATION AMONG ELDERLY POPULATION LIVING IN MAHASARAKHAM PROVINCE THAILAND

Show simple item record

dc.contributor.advisor Nutta Taneepanichskul
dc.contributor.author Apisit Kullanit
dc.contributor.other Chulalongkorn University. College of Public Health Sciences
dc.date.accessioned 2017-10-30T04:49:48Z
dc.date.available 2017-10-30T04:49:48Z
dc.date.issued 2016
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55759
dc.description Thesis (M.P.H.)--Chulalongkorn University, 2016
dc.description.abstract Background: The recent study by Thailand Health Insurance System Research Office (HISRO) in 2009 and 2010 showed that utilization of healthcare services of outpatient care was decreased among elderly. Transportation may be a predominant factor influencing outpatient care utilization especially in rural area where patients must travel long distances to access health care services. Therefore, this study aimed to find an association between the healthcare utilization of elderly and their living in urban/rural area and to access an association between healthcare utilization and transportation barriers and perception among elderly in Mahasarakham province Thailand. Method: A cross-sectional study was conducted in Muang district (urban) and Wapi Pathum district (rural) in Mahasarakham province. Face-to-face interview by health volunteers was utilized to obtain information from 359 elderly using structured questionnaire (179 elderlies in urban area and 180 elderlies in rural area). Briefly, questionnaire was divided into 3 parts; demographic characteristic, transportation barriers and perception of transportation to healthcare services. Bivariate analysis using Chi-square and independent t-test was performed to investigate the association. Results: Majority of respondents in this study was female (59.3%) and had average age (±SD) of 70(±7.1) years old. Sixty-six percent of them reported insufficient monthly income. More than half of them had underlying disease (53.5%) and moderate health status (56.5%). During the past two months, sixty-eight percent of overall elderly (72.6 % of elderly in urban area and 63.3 % of elderly in rural area) reported non-utilize the healthcare service even though they preferred to seek for care. However, statistical significance of an association between urban/rural area and healthcare utilization was not achieved (p-value=0.06). Considering on transportation barriers, this study found that traveling duration and distance from home to healthcare services were significantly influenced on healthcare utilization of elderly in primary and secondary care (p-value<0.05). Elderly out-of-pocket of transportation expenses was significantly associated with utilization of secondary care (provincial hospital) (p-value = 0.02). Their perception on ability to pay for transportation expenses was significant different between elderly who had visited and who had not visited healthcare services (p-value = 0.05). Conclusions: Travel duration and distance from elderly home to healthcare services was associated with healthcare utilization in primary and secondary care. Elderly satisfaction and perception on ability to pay for transportation expense was related to their healthcare utilization. An elderly healthcare utilization promoting strategy should be recognized to enhance elderlies’ health. Further basic insurance; universal healthcare coverage, strategy may consider to partially support transportation expenses for elderly to lessen their ability to pay perception.
dc.description.abstractalternative จากการสำรวจของสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย(สวปก) ในปี 2552 และ 2553 พบว่าการใช้บริการสุขภาพของผู้สูงอายุที่เป็นผู้ป่วยนอกลดลง อุปสรรคจากการเดินทาง เช่น ระยะทาง หรือค่าใช้จ่ายในการเดินทาง อาจเป็นปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการเข้ารับบริการผู้ป่วยนอก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ชนบท การศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการใช้บริการด้านสุขภาพของผู้สูงอายุและการอยู่อาศัยในเขตเมืองและชนบท และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการใช้บริการด้านสุขภาพและอุปสรรคด้านการเดินทาง และความเข้าใจเกี่ยวกับอุปสรรคในการเดินทางเพื่อไปรับบริการสุขภาพของผู้สูงอายุในจังหวัดมหาสารคาม ประเทศไทย การวิจัยเชิงวิเคราะห์ภาคตัดขวางได้ถูกนำมาใช้ในการศึกษาครั้งนี้ โดยศึกษาผู้สูงอายุจำนวน 359 คน ในพื้นที่ของอำเภอเมือง (เขตเมือง) และอำเภอวาปีปทุม (เขตชนบท) จังหวัดมหาสารคาม โดยแบ่งเป็น ผู้สูงอายุจำนวน 179 คนในเขตเมือง และ 180 คนในเขตชนบท แบบสัมภาษณ์ในการศึกษาครั้งนี้แบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ คุณลักษณะทั่วไปของผู้สูงอายุ อุปสรรคด้านการเดินทาง และความเข้าใจเกี่ยวกับอุปสรรคในการเดินทางเพื่อไปรับบริการสุขภาพ การสัมภาษณ์โดยอาสาสมัครสาธารณสุขได้ถูกนำมาใช้ในการเก็บข้อมูลจากผู้สูงอายุ และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงสถิติด้วยการทดสอบไคสแควร์ (Chi-square) และการทดสอบแบบที (Independent T-test) ส่วนใหญ่ของผู้ตอบแบบสอบถามในการศึกษานี้เป็นเพศหญิง (59.3%) และมีอายุเฉลี่ย (±ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน) เท่ากับ 70 (± 7.1) ปี หกสิบหกเปอร์เซ็นต์จากผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมดรายงานว่ามีรายได้ต่อเดือนไม่เพียงพอ มากกว่าครึ่งหนึ่งของผู้สูงอายุมีโรคประจำตัว (53.5%) และเห็นว่าตนเองมีสุขภาพในระดับปานกลาง (56.5%) ในช่วง สองเดือนที่ผ่านมา หกสิบแปดเปอร์เซ็นต์ของผู้สูงอายุทั้งหมด รายงานว่าไม่ได้เข้ารับบริการด้านการดูแลสุขภาพแม้ว่าต้องการที่จะเข้ารับการดูแลสุขภาพ ซึ่งพบว่า 72.6% เป็นผู้สูงอายุในเขตเมืองและ 63.3% เป็นผู้สูงอายุในพื้นที่ชนบท อย่างไรก็ตามความสัมพันธ์ระหว่างเมืองและชนบท และการใช้บริการสุขภาพไม่ได้มีความสัมพันธ์ทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญ (p-value = 0.06) จากการศึกษาปัญหาและอุปสรรคการเดินทางพบว่าระยะเวลา และระยะทางจากบ้านในการไปเข้ารับบริการด้านสุขภาพมีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญต่อการใช้บริการด้านสุขภาพของในระดับปฐมภูมิ และระดับทุติยภูมิของผู้สูงอายุ (p-value <0.05) ค่าใช้จ่ายในเดินทางของผู้สูงอายุมีความสัมพันธ์กับการใช้บริการโรงพยาบาลจังหวัด (p-value = 0.02) นอกจากนี้ความเข้าใจของผู้สูงอายุเกี่ยวกับความสามารถที่จะจ่ายค่าใช้จ่ายในเดินทางระหว่างผู้สูงอายุที่เข้ารับบริการสุขภาพและผู้ที่ไม่ได้เข้ารับบริการสุขภาพมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ (p-value = 0.05) จากการศึกษาครั้งนี้สรุปได้ว่าระยะเวลาในการเดินทาง ระยะทางจากบ้านในการไปเข้ารับบริการด้านสุขภาพที่สถานพยาบาลระดับปฐมภูมิและทุติยภูมิ และการรับรู้ เกี่ยวกับความสามารถในการจ่ายค่าเดินทางมีความสัมพันธ์กับการใช้บริการด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ ดังนั้นจึงควรมีกลยุทธ์เพื่อการส่งเสริมการใช้บริการด้านสุขภาพของผู้สูงอายุเพื่อดูแลสุขภาพ นอกจากนี้หลักประกันขั้นพื้นฐาน หรือหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า อาจพิจารณาถึงการจ่ายค่าพาหนะในการเดินทางเพื่อเข้ารับบริการสุขภาพบางส่วนให้กับผู้สูงอายุเพื่อลดภาระด้านค่าใช้จ่ายในการเดินทางของผู้สูงอายุ
dc.language.iso en
dc.publisher Chulalongkorn University
dc.relation.uri http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.1834
dc.rights Chulalongkorn University
dc.title TRANSPORTATION BARRIERS ON HEALTHCARE UTILIZATION AMONG ELDERLY POPULATION LIVING IN MAHASARAKHAM PROVINCE THAILAND
dc.title.alternative อุปสรรคในการเดินทางต่อการใช้บริการสุขภาพของผู้สูงอายุในจังหวัดมหาสารคาม ประเทศไทย
dc.type Thesis
dc.degree.name Master of Public Health
dc.degree.level Master's Degree
dc.degree.discipline Public Health
dc.degree.grantor Chulalongkorn University
dc.email.advisor Nutta.T@chula.ac.th,Nutta.T@chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.58837/CHULA.THE.2016.1834


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record