dc.contributor.advisor |
Poinkramme Paneburana |
|
dc.contributor.author |
Maliwan Senawong |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Arts |
|
dc.coverage.spatial |
France |
|
dc.date.accessioned |
2017-11-13T08:12:14Z |
|
dc.date.available |
2017-11-13T08:12:14Z |
|
dc.date.issued |
2006 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55864 |
|
dc.description |
Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2006 |
en_US |
dc.description.abstract |
Le dessein de notre recherché consiste a analyzer l'image de la femme dans quatre romans de Colette. Cette etude se repartit en trios chapitres, don't le premier traite les techniques de la presentation des personages feminins. La femme colettienne apparait comme la figure centrale du recit et assume la fonction de narrateur. Dans le recit a la troisieme personne, les evenements sont le puls souvent percus selon l'optique de l'heroine. Colette emprunte aux techniques de peintre impressionniste pour brosser le portrait des personnages feminins. Par ailleurs, elle accorde une importance capitale a l'evocation du corps de la femme du fait qu'il devoile sa vie interieure. Le deuxieme chapitre s'attache a examiner la condition sociale de la femme francaise au debut du XX[superscript e] siecle a travers les romans de Colette. La femme jouit des droits tres restreints et elle ne trouve guere de place dans la societe. Colette dessine a travers ses heroines un nouveau modele de la femme qui se caracterise par la force de caractere et le gout de la liberte. Le dernier chapitre se concentre sur la psychologie de la femme colettienne. On note que Colette est la premiere romanciere a traiter le probleme de l'amour selon le point de vue de la femme. L'ecrivain prete a ses heroines ses douloureuses experiences de mariage. L'amour est concu comme une source de souffrances. L'homme en est responsable a cause de son infidelite et de son egoisme. La femme colettienne affronte a un conflit interieur qui la dechire entre l'amour et l'aspiration a l'independance. Pour proposer un salut a la femme, Colette fait de sa mere Sido une ideale qui sait vivre en accord avec la nature. A la place de l'amour desormais ecarte, la femme colettienne retrouvel l'esperance et les plaisirs durables au sein de la nature. |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
วิทยานิพนธ์เรื่องนี้มุ่งศึกษาวิเคราะห์ภาพลักษณ์สตรีในนวนิยายสี่เรื่องข้างต้นของโกแล็ต เนื้อหาแบ่งออกเป็นสามบทดังนี้ บทแรกศึกษากลวิธีการนำเสนอตัวละครหญิงในนวนิยายทั้งสี่เรื่อง ผู้หญิงเป็นตัวละครเอกและทำหน้าที่เล่าเรื่องหรือเป็นผู้เสนอมุมมองในการถ่ายทอดเหตุการณ์ส่วนมาก กลวีธีดังกล่าวทำให้ผู้อ่านสามารถเข้าถึงจิตวิญญาณของผู้หญิงโดยตรง โกแล็ตวาดภาพตัวละครโดยเลียนแบบศิลปินแบบอิมเพรสชั่นนิสต์ อีกทั้งเน้นความสำคัญของเรือนกายซึ่งถ่ายทอดอารมณ์และความรู้สึกของตัวละครหญิง บทที่สองศึกษาวิเคราะห์สถานภาพสตรีฝรั่งเศสในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ยี่สิบผ่านทางนวนิยาย สตรีมีสถานภาพจำกัดทั้งในชีวิตส่วนตัวและสังคม และไม่ได้รับการยอมรับนับถือจากสังคม โกแล็ตเสนอแบบอย่างของสตรีสมัยใหม่ที่มีความคิดอิสระและความแข็งแกร่ง บทสุดท้ายศึกษาวิเคราะห์จิตวิญญาณสตรีผ่านตัวละครเอกหญิงในนวนิยาย อาจกล่าวได้โกแล็ตเป็นนักเขียนสตรีคนแรกที่นำเสนอปัญหาความรักและชีวิตสมรสผ่านมุมมองของสตรี โกแล็ตถ่ายทอดประสบการณ์ที่ขมขื่นของเธอให้ตัวละครหญิง โดยชี้ให้เห็นว่าความรักนำมาซึ่งความเจ็บปวดทุกข์ระทม ผู้ชายเป็นต้นเหตุของความทุกข์ดังกล่าวเพราะไม่ซื่อสัตย์และเห็นแก่ตัว อย่างไรก็ตามตัวละครเอกหญิงเกิดความขัดแย้งในจิตใจเพราไม่อาจตัดขาดจากความรักผู้ประพันธ์เสนอทางออกสำหรับสตรีโดยวาดภาพซิโด มารดาของเธอให้เป็นแบบอย่างของผู้ที่ดำเนินชีวิตกลมกลืนกับวิถีธรรมชาติ และตระหนักว่าความรักที่ขาดหายไปนั้นมีสิ่งชดเชยอยู่ในความงามของธรรมชาติ ซึ่งให้ความหวังและความสุขที่ยั่งยืน |
en_US |
dc.language.iso |
fr |
en_US |
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1740 |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.subject |
Colette, 1873-1954 -- Criticism and interpretation |
en_US |
dc.subject |
French fiction -- 20th century -- History and criticism |
en_US |
dc.subject |
Women in literature |
en_US |
dc.subject |
Women -- Social conditions -- France |
en_US |
dc.subject |
โกแล็ต, ซิโดนี-กาเบรียล, ค.ศ. 1873-1954 -- การวิจารณ์และการตีความ |
en_US |
dc.subject |
นวนิยายฝรั่งเศส -- ศตวรรษที่ 20 -- ประวัติและวิจารณ์ |
en_US |
dc.subject |
สตรีในวรรณคดี |
en_US |
dc.subject |
สตรี -- ภาวะสังคม -- ฝรั่งเศส |
en_US |
dc.title |
L'image de la femme dans quatre romans de Colette : La Vagabonde, Cheri, La Naissance du jour et La Seconde |
en_US |
dc.title.alternative |
ภาพลักษณ์สตรีในนวนิยายของโกแล็ตเรื่อง ลา วากาบงด์ เรื่อง เชรี เรื่อง ลา แนสซองซ์ ดู ชูร์ และเรื่อง ลา เซอกงด์ |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
Master of Arts |
en_US |
dc.degree.level |
Master's Degree |
en_US |
dc.degree.discipline |
French |
en_US |
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.email.advisor |
No information provided |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2006.1740 |
|