dc.contributor.advisor |
รัชนี ขวัญบุญจัน |
|
dc.contributor.author |
วุฒิกร รัตนบัลลังก์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
|
dc.date.accessioned |
2017-11-17T02:34:49Z |
|
dc.date.available |
2017-11-17T02:34:49Z |
|
dc.date.issued |
2532 |
|
dc.identifier.isbn |
9745764191 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55955 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532 |
en_US |
dc.description.abstract |
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบเวลาปฏิกริยาตอบสนองต่อเสียงและแสงของเด็กปกติ เด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกาย และเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา ตัวอย่างประชากรที่ใช้ คือเด็กปกติจากโรงเรียนสวนหลวง เด็กเรียนช้าจากโรงเรียนปัญญาวุฒิกร เด็กหูหนวกจากโรงเรียนเศรษฐเสถียร และเด็กตาบอดจากโรงเรียนสอนคนตาบอดกรุงเทพ โรงเรียนละ 50 คน โดยใช้เครื่องมือวัดเวลาปฏิกิริยาตอบสนองต่อเสียงและแสงทดสอบเวลาปฏิกิริยาตอบสนองของมือที่มีต่อเสียงและแสงของเด็กปกติและเด็กเรียนช้าทดสอบเวลาปฏิกิริยาตอบสนองของมือที่มีต่อแสดงของเด็กหูหนวก และทดสอบเวลาปฏิกิริยาตอบสนองของมือที่มีต่อเสียงของเด็กตาบอด นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย เปรียบเทียบเวลาปฏิกริยาตอบสนองโดยการทดสอบค่า “ที” วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และทดสอบเวลาปฏิบัติตอบสนองของมือที่มีต่อเสียงของเด็กตาบอด ผลการวิจัยปรากฏว่า 1. เวลาปฏิกิริยาตอบสนองของมือที่มีต่อแสงของเด็กปกติม เด็กเรียนช้าและเด็กหูหนวกมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 2. เวลาปฏิกิริยาตอบสนองของมือที่มีต่อเสียงของเด็กปกติม เด็กเรียนช้าและเด็กตาบอดมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this investigation was to study reaction time of normal, physically handicapped and intellectually handicapped children. The subjects were 200 students from Suanluang School, Panyawutikorn School, Sethsatian School and Bangkok School for the Blind. The multi choice reaction timer was used for measuring reaction time of hand on visual and auditory stimuli of the normal and the slow learner, measuring reaction time of hand on visual stimuli of the auditory defect, and measuring reaction time of hand on auditory stimuli of the visual defect. The obtained data then were computed and analyzed in terms means, t-test and one-way analysis of variance, Tukey A test for all possible comparison was also employed to determine if there was any significant difference. The results were as follow: 1. Reaction time of hand on visual stimuli of the normal, the slow learner, and the auditory defect children were significantly different at the level of .01. 2. Reaction Time of hand on auditory stimuli of the normal, the slow learner and the visual defect children were significantly different at the level of .01. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
เวลาตอบโต้ |
en_US |
dc.subject |
เด็กปัญญาอ่อน |
en_US |
dc.subject |
เด็กพิการ |
en_US |
dc.subject |
เด็กที่มีความบกพร่องทางสายตา |
en_US |
dc.subject |
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน |
en_US |
dc.subject |
Reaction time |
en_US |
dc.subject |
Children with mental disabilities |
en_US |
dc.subject |
Children with disabilities |
en_US |
dc.subject |
Children with visual disabilities |
en_US |
dc.subject |
Hearing impaired children |
en_US |
dc.title |
การเปรียบเทียบเวลาปฏิกิริยาตอบสนองต่อเสียงและแสงของเด็กปกติเด็ก ที่มีความบกพร่องทางกายและเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา |
en_US |
dc.title.alternative |
Comparison of reaction time on visual and auditory stimuli of normal, physically handicapped and intellectually handicapped children |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
ครุศาสตรมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
พลศึกษา |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
Rajanee.Q@Chula.ac.th |
|