DSpace Repository

ORAL HEALTH-RELATED QUALITY OF LIFE IN PATIENTS UNDERGOING SURGICAL IMPLANT PLACEMENT SIMULTANEOUSLY WITH GUIDED BONE REGENERATION

Show simple item record

dc.contributor.advisor Atiphan Pimkhaokham
dc.contributor.advisor Sudaduang Krisdapong
dc.contributor.author Suchat Kamankatgan
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Dentistry
dc.date.accessioned 2017-11-27T08:59:25Z
dc.date.available 2017-11-27T08:59:25Z
dc.date.issued 2014
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56278
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2014
dc.description.abstract Objective: To assess and compare the Oral Health-Related Quality of life (OHRQoL) alteration in implant patients with or without guided bone regeneration (GBRs) Methods: The 52 implant-treated patients (14 with GBRs) were individually interviewed Oral Impact on Daily Performance (OIDP) before, 2 weeks, 1 and 3 months after surgery and after prosthesis used. Differences in OIDP scores were compared. Association of the factors to changed score were analyzed. Results: OIDP score increased at 2 weeks and recovered at 1 and 3 months after surgery then decreased after prosthesis used in both groups. Patients with GBRs showed more post-surgical impacts (p=0.01) but less post-prosthesis improvement (p=0.029) than the other. GBRs had no association while amount of implant placed (p=0.031) as well as gender (p=0.02) and denture experience (p=0.012) associated to post-surgical and -prosthesis OHRQoL changes, respectively. Conclusion: Implant surgery with GBRs procedure shortly deteriorated OHRQoL however recovery within 1 months after surgery. Implant prosthesis improved OHRQoL. GBRs did not associate to these OHRQoL alterations.
dc.description.abstractalternative วัตถุประสงค์: เพื่อประเมินและเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงคุณภาพชีวิตในมิติสุขภาพช่องปากของผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดฝังรากฟันเทียมร่วมกับการปลูกกระดูก และผู้ป่วยที่ผ่าตัดฝังรากฟันเทียมโดยไม่ได้รับการปลูกกระดูก วิธีการศึกษา: ผู้ป่วย 52 ราย (14 รายได้รับการปลูกกระดูก) ที่เข้ารับการรักษาด้วยรากฟันเทียมเพื่อบูรณะสันเหงือกว่างบางส่วน ได้รับการสัมภาษณ์ด้วยดัชนีชี้วัดคุณภาพชีวิตในมิติสุขภาพช่องปาก ก่อนการรักษา, 2 สัปดาห์, 1 และ 3 เดือนภายหลังผ่าตัด และภายหลังใช้งานฟันเทียม วิเคราะห์เปรียบเทียบระดับคุณภาพชีวิตในมิติสุขภาพช่องปาก รวมทั้งหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ผลการศึกษา: ผู้ป่วยทั้งสองกลุ่มมีค่าดัชนีชี้วัดสูงขึ้นที่ 2 สัปดาห์ จากนั้นมีค่าลดลงเทียบเท่าก่อนการรักษาที่ 1 และ 3 เดือนภายหลังการผ่าตัด และต่ำกว่าก่อนการรักษาภายหลังการใช้งานฟันเทียม คุณภาพชีวิตในมิติสุขภาพช่องปากของผู้ป่วยที่ได้รับการปลูกกระดูกลดลงภายหลังการผ่าตัดมากกว่า (p=0.01) แต่มีการเพิ่มขึ้นภายหลังใช้ฟันเทียมน้อยกว่า (p=0.029) กลุ่มเปรียบเทียบ จำนวนรากฟันเทียมมีความสัมพันธ์ต่อการเปลี่ยนแปลงภายหลังการผ่าตัด (p=0.031) ในขณะที่เพศ (p=0.02) และประวัติการใส่ฟันเทียมถอดได้ (p=0.012) มีความสัมพันธ์ต่อการเปลี่ยนแปลงภายหลังการใช้งานฟันเทียม บทสรุป: การผ่าตัดฝังรากฟันเทียมโดยเฉพาะอย่างยิ่งในการปลูกกระดูกร่วมด้วยนั้นส่งผลให้เกิดการลดลงของคุณภาพชีวิตในมิติสุขภาพช่องปากในช่วงแรกภายหลังการผ่าตัด อย่างไรก็ตามพบการคืนกลับสู่สภาวะเริ่มต้นภายใน 1 เดือนภายหลังการผ่าตัด ฟันเทียมที่รองรับด้วยรากเทียมทำให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตในมิติสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น การปลูกกระดูกไม่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพชีวิตในมิติสุขภาพช่องปาก
dc.language.iso en
dc.publisher Chulalongkorn University
dc.rights Chulalongkorn University
dc.title ORAL HEALTH-RELATED QUALITY OF LIFE IN PATIENTS UNDERGOING SURGICAL IMPLANT PLACEMENT SIMULTANEOUSLY WITH GUIDED BONE REGENERATION
dc.title.alternative คุณภาพชีวิตในมิติสุขภาพช่องปากของผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดฝังรากฟันเทียมร่วมกับการปลูกกระดูก
dc.type Thesis
dc.degree.name Master of Science
dc.degree.level Master's Degree
dc.degree.discipline Oral and Maxillofacial Surgery
dc.degree.grantor Chulalongkorn University
dc.email.advisor Atiphan.P@Chula.ac.th,atiphan.p@chula.ac.th
dc.email.advisor Sudaduang.K@chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record