DSpace Repository

Assessment of nutritional status, performance status scores, Glasgow prognostic score and their relationship in advanced squamous carcinoma of the esophagus

Show simple item record

dc.contributor.advisor Jongjit Angkatavanich
dc.contributor.advisor Do Anh Tu
dc.contributor.author Tran Chau Quyen
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Allied Health Sciences
dc.date.accessioned 2017-11-27T09:00:07Z
dc.date.available 2017-11-27T09:00:07Z
dc.date.issued 2014
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56313
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2014
dc.description.abstract Background: Esophageal was the eighth of leading kinds of cancer all over the world and the incidence rate is increasing rapidly. Most of esophageal cancer patients present with late stages at the point of admissions, when they had malnutrition and dysphagia. There is a need for determination of the magnitude of poor nutrition status in these patients and find the other helpful indicators associated with it to help in clinical detection. Objectives: To determine the nutrition status of esophageal cancer patients and investigate the relationship between nutrition status, performance status scores and prognosis score. Subjects and methods: A clinical, cross-sectional study was conducted from August 2014 to February 2015 at National Cancer Hospital, Hanoi, Vietnam. Male esophageal cancer patients stage III/IV were assessed for nutritional status (patient-generated subjective global assessment-PG-SGA score), SGA, BMI, mid-arm circumference-MAC, energy and protein intakes, weight change), Karnofsky Performance Score (KPS) and Eastern Cooperative Oncology Group- ECOG, and Glasgow prognostic the incidence rate is increasing rapidly Results: Sixty-four male patients enrolled in the study. The mean ± SD of PG-SGA score was 9.88 ± 4.41. Forty-four% of patients had class B and 6.2% in class C by SGA. Using BMI, 43.8% patients were underweight. By MAC, 29.7% patients were undernourished. Patients having energy intakes below 25 kcal/kg/d were 54.7%, and 48.4% consumed protein below 1g/kg/d. Weight loss in the past two weeks, one month, and six months occurred in 68.8%, 84.4% and 92.2% patients, respectively. PG-SGA and SGA correlated well with KPS (r = -0.717 and 0.632; p <0.001) and ECOG (r = 0.672 and 0.626; p < 0.001) but weakly correlated with GPS (r = 0.332, p < 0.01 and 0.278, p < 0.05). KPS, ECOG, BMI, MAC, energy and protein intakes, and weight change did not correlate with GPS. Conclusions: Malnutrition, weight change, and insufficient energy and protein intakes were noteworthy in esophageal cancer patients. Good correlation between PG-SGA and SGA with performance status were documented and to a lesser extent with prognosis index.
dc.description.abstractalternative ที่มาและความสำคัญ : มะเร็งหลอดอาหารเป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับที่แปดในกลุ่มโรคมะเร็งทั่วโลกและมีอุบัติการณ์เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ผู้ป่วยมะเร็งหลอดอาหารนั้นมักมาพบแพทย์เมื่อความรุนแรงดำเนินไปจนถึงระยะท้ายๆ ซึ่งผู้ป่วยเหล่านี้มักมีภาวะทุพโภชนการและมีความผิดปกติในการกลืนอาหารแล้ว ฉะนั้นจึงมีความจำเป็นในการการประเมินความรุนแรงของภาวะทุพโภชนาการในคนไข้กลุ่มนี้และแสวงหาสิ่งบ่งชี้ที่เกี่ยวข้องกับภาวะโภชนาการเพื่อช่วยในการระบุปัญหาทางคลินิก จุดประสงค์ : เพื่อประเมินภาวะโภชนาการของผู้ป่วยมะเร็งหลอดอาหาร และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะโภชนาการ คะแนนประเมินความสามารถของกิจกรรมทางกายผู้ป่วย และคะแนนการพยากรณ์โรค กลุ่มตัวอย่างและวิธีศึกษา การศึกษาทางคลินิก ชนิดการวิจัยแบบตัดขวาง ดำเนินการระหว่างเดือนสิงหาคม 2557 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2558 ณ โรงพยาบาลมะเร็งแห่งชาติ กรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม ผู้ป่วยเพศชายที่มีมะเร็งหลอดอาหารในระยะที่สามและสี่จะถูกประเมินภาวะโภชนาการโดยการใช้แบบสอบถามพีจีเอสจีเอ เอสจีเอ ดัชนีมวลกาย ค่าวงรอบขนาดของแขนท่อนบน พลังงานและโปรตีนที่ได้รับต่อวัน การเปลี่ยนแปลงของน้ำหนักตัว คะแนนประเมินของคานอฟสกี้ คะแนนอีซีโอจี และคะแนนการพยากรณ์โรคของกลาสโกว์ ผลการศึกษา จากการศึกษาผู้ป่วยชายจำนวน 64 ราย พบว่าค่าเฉลี่ยบวกลบส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนพีจีเอสจีเอมีค่าเท่ากับ 9.88 ± 4.41 ซึ่งมีผู้ป่วยที่ได้รับการประเมินเอสจีเอและจัดอยู่ในระดับบี คิดเป็นร้อยละ 44 และระดับซีคิดเป็นร้อยละ 6.2 การประเมินค่าดัชนีมวลกายพบว่ามีผู้ป่วยที่อยู่ในเกณฑ์น้ำหนักตัวต่ำกว่ามาตรฐานคิดเป็นร้อยละ 43.8 การประเมินค่าวงรอบขนาดของแขนท่อนบนพบว่ามีผู้ป่วยที่มีภาวะทุพโภชนาการคิดเป็นร้อยละ 29.7 การประเมินการได้รับพลังงาน พบว่ามีผู้ป่วยร้อยละ 54.7 ที่ได้รับพลังงานต่ำกว่า 25 กิโลแคลอรีต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมและมีผู้ป่วยร้อยละ 48.4 ที่ได้รับโปรตีนต่ำกว่า 1 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม มีการสูญเสียน้ำหนักตัวภายในช่วงเวลาต่างๆ ก่อนการประเมิน โดยน้ำหนักลดในช่วงสองสัปดาห์คิดเป็นร้อยละ 68.8 ในช่วง 1 เดือนคิดเป็นร้อยละ 84.4 และในช่วง 6 เดือนคิดเป็นร้อยละ 92.2 จากผลดังกล่าวพบว่าคะแนนพีจีเอสจีเอและเอสจีเอมีความสัมพันธ์อย่างมากกับคะแนนเคพีเอส (สัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์คิดเป็น 0.717 และ 0.632 ตามลำดับ ที่ระดับนัยสำคัญต่ำกว่า 0.001) และคะแนนอีซีโอจี (สัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์คิดเป็น 0.672 และ 0.626 ที่ระดับนัยสำคัญต่ำกว่า 0.001) แต่คะแนนพีจีเอสจีเอและเอสจีเอกลับมีความสัมพันธ์น้อยกับคะแนนการพยากรณ์โรคของกลาสโกว์ (สัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์คิดเป็น 0.332 ที่ระดับนัยสำคัญน้อยกว่า 0.01) นอกจากนี้ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนการพยากรณ์โรคของกลาสโกว์ กับค่าต่อไปนี้: คะแนนประเมินของคานอฟสกี้ คะแนนอีซีโอจี ค่าดัชนีมวลกาย ค่าวงรอบขนาดของแขนท่อนบน การได้รับพลังงานและโปรตีนต่อวันและการเปลี่ยนแปลงของน้ำหนักตัว สรุปผลการศึกษา ภาวะทุพโภชนการ การเปลี่ยนแปลงของน้ำหนักตัวและการได้รับพลังงานและโปรตีนไม่เพียงพอถือว่าเป็นประเด็นที่สำคัญในผู้ป่วยมะเร็งหลอดอาหาร การประเมินคะแนนพีจีเอสจีเอและเอสจีเอ มีความสัมพันธ์อย่างมากกับคะแนนการประเมินคานอฟสกี้แต่มีความสัมพันธ์น้อยกับดัชนีชี้วัดการพยากรณ์โรค คำสำคัญ มะเร็งหลอดอาหาร ภาวะโภชนาการ คะแนนประเมินของคานอฟสกี้ คะแนนอีซีโอจี คะแนนการพยากรณ์โรคของกลาสโกว์ น้ำหนักลด
dc.language.iso en
dc.publisher Chulalongkorn University
dc.rights Chulalongkorn University
dc.title Assessment of nutritional status, performance status scores, Glasgow prognostic score and their relationship in advanced squamous carcinoma of the esophagus
dc.title.alternative การประเมินและการหาความสัมพันธ์ของภาวะโภชนาการในโรคมะเร็งหลอดอาหารแบบแอดวานซ์สเควมัสคาร์สิโนมา​ เพอร์ฟอร์มานซ์สเตตัสสกอร์และกลาสโกว์พรอกโนสติกสกอร์
dc.type Thesis
dc.degree.name Master of Science
dc.degree.level Master's Degree
dc.degree.discipline Food and Nutrition
dc.degree.grantor Chulalongkorn University
dc.email.advisor Jongjit.A@Chula.ac.th,jongjitan@gmail.com
dc.email.advisor doanhtu_vn@yahoo.com


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record